บรรณานุกรม


เป็นรวบรวม กฏหมาย หนังสือตำลา บทความตรอดถึงวาระสารต่างๆที่ได้เก็บหามาเพื่อประกอบการเขียนวิทยานิพนธ์ ในเรื่องสถานะทางกฏหมายของคนลาวในประเทศไทย

พ.ศ. 2481

               , พระราชบัญญัติว่าด้วยการขัดกันแห่งกฎหมาย พ.ศ.2481  

พ.ศ. 2491

               , ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน พ.ศ.2491

พ.ศ. 2502

               , พระราชบัญญัติสภาความมั่นคงแห่งชาติ พ.ศ.2502

พ.ศ. 2508

               , อนุสัญญาว่าด้วยการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติทุกรูปแบบพ.ศ.2508

พ.ศ. 2509

              , กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม พ.ศ.2509

              , กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองพ.ศ.2509

พ.ศ. 2515

              , ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 337 ลงวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ.2515

พ.ศ. 2516

พร อุดมพงษ์, กฎหมายกำหนดงานของชาวต่างประเทศ บทบัณฑิตย์ 30(2516):93-102.

พ.ศ. 2517

ผดุง ธันยางกูร, สิทธิของคนต่างด้าวตามสนธิสัญญา. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ

           มหาวิทยาลัย, 2517

พ.ศ. 2521

              , พระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.2521

พ.ศ. 2522

              , พระราชบัญญัติคนเข้าเมือง พ.ศ. 2522  

พ.ศ. 2527

กระทรวงการต่างประเทศ.วิวัฒนาการความสัมพันธ์ ไทย-ลาว.กรุงเทพฯ, 2527.

พ.ศ. 2529

ปาริฉัตร อัสนีวรานนท์, ความสัมพันธ์และการดำเนินนโยบายต่างประเทศของลาวต่อไทย           

                       

          (ธันวาคม 2518-ตุลาคม 2526).กรุงเทพฯ, คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 

            2529.

 

พ.ศ. 2531

การสัมมนาทางวิชาการเรื่องความสัมพันธ์ไทย-ลาว , เอกสารประกอบการสัมมนาเรื่อง ความสัมพันธ์ไทย-ลาว / จัดโดย คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมกับโครงการสันติภาพและการพัฒนา. กรุงเทพฯ : คณะ, 2531.

มิตรสัมพันธ์. พี่น้องไทย-ลาว? : สภาพความเป็นมาของความสัมพันธ์ไทย-ลาว .ศรีษะเกษ : มนตรี

           ศาสตร์, 2531?

พ.ศ. 2532

โคริน เฟื่องเกษม., สุรชัย ศิริไกร,  -ความสัมพันธ์และนโยบายต่างประเทศของไทย / โคริน เฟื่อง

           เกษม. ความสัมพันธ์ไทย-ลาว 1975-ปัจจุบัน .กรุงเทพฯ : หมวดงานบริการเอกสารทาง

           วิชาการ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2532.

พ.ศ. 2534

อมรพันธุ์ นิมานันท์. ปัญหาเกี่ยวกับผู้อพยพและผู้หลบหนีเข้าเมืองโดยผิดกฎหมาย วรสารอัยการ  

           14 (กุมภาพันธ์ 2534): 83-92.

พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร. บุตรของหญิงไทยและชายต่างด้าวจะมีสัญชาติไทยหรือไม่ ? สตรีทัศน์, 7 (2534) 3, 28-30.

พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร. ทัศนะของนักกฎหมายต่อปัญหาการได้สัญชาติไทยในปัจจุบัน, บทความเสนอต่อการ สัมมนาเรื่อง "กฎหมายสัญชาติ : ปัญหาและแนวทางแก้ไข" ซึ่งจัดขึ้นโดยความร่วมมือของ องค์กรของรัฐและเอกชนหลายหน่วยงานในวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ.2534 ที่ห้องรางทอง โรงแรมบางกอกพาเลซ ประตูน้ำ, 31 น.

พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร. สิทธิของเด็กที่จะมีสัญชาติไทย. ความรู้กฎหมายเยาวชนเพื่อเยาวชน, หนังสือจัดทำใน งานโครงการเผยแพร่กฎหมายเยาวชนเพื่อเยาวชนเนื่องในวันเยาวชนแห่งชาติปี พ..2534. คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, .100-112.

พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร, ฎีกาวิเคราะห์ : คำพิพากษาฎีกาที่ 989/2533 ว่าด้วยสัญชาติไทยของบุตรของผู้ถูกถอนสัญชาติไทยโดย ปว.337. วารสารนิติศาสตร์. 21 (2534) 2, 284-293. <http://www.archanwell.org/autopage/show_page.php?t=1&s_id=41&d_id

พ.ศ. 2535

กมล สนธเกษตริน. คำอธิบายกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล. กรุงเทพมหานคร: นิติ                                                                                                                                                                           

            บรรณาการ, 2535.         

พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร, สถานภาพของคนไทยโดยหลักดินแดน, งานวิจัยเสนอต่อคณะกรรมการวิจัยเสริมหลักสูตรของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในปี พ..2535

พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร, ฎีกาวิเคราะห์ : คำพิพากษาฎีกาที่ 2988/2535 : สัญชาติไทยของบุตรของ                            

            หญิงไทย และชายต่างด้าวที่เข้าเมืองแบบไม่ถาวร,วารสารนิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์,      

            22   (2535) 4, 619-630.

พ.ศ. 2536

สุรศักดิ์ มณีศร. ปัญหาสิทธิของคนต่างด้าวในการทำงานและการประกอบธุรกิจ. วรสารนิติศาสตร์                                                                                                                                                                         

            23 (ธันวาคม 2536): 719-730.

พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร, กฎหมายสัญชาติไทย : ผลกระทบต่อทั้งผู้ที่เกิดก่อนและหลังวันที่กฎหมายฉบับใหม่มีผลบังคับใช้, กทม., สำนักพิมพ์นิติธรรม, 2535, 92 หน้า ;ใน: เอกสารส่งเสริมวิชาการตำรวจ, 29(2536)324,72-80.

พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร, ฎีกาวิเคราะห์ : คำพิพากษาฎีกาที่ 2901/2535, ใน : หนังสือชื่อ "กฎหมายสัญชาติไทย : หลักกฎหมายที่เปลี่ยนแปลง”, กทม., สำนักพิมพ์วิญญูชน, 2536, .133-153.

พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร, การแก้ไขกฎหมายสัญชาติไทยในปี พ..2535, งานเขียนเพื่อสถาบันพัฒนาข้าราชการตุลาการ, สำนักงานส่งเสริมงานตุลาการ, กระทรวงยุติธรรม, 2535, 55 น.; ใน : บทบัณฑิตย์, 49 (2536) 2, 1-44; ใน:เอกสารส่งเสริมวิชาการตำรวจ, 29(2536) 324, 17-55; ใน:หนังสือชื่อ "กฎหมายสัญชาติไทย:หลักกฎหมายที่เปลี่ยนแปลง” , กทม., สำนักพิมพ์วิญญูชน, 2536, .17-88.

พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร, ผลของกฎหมายสัญชาติใหม่ต่อผู้เกิดก่อนวันที่กฎหมายใหม่มีผลบังคับ, ใน หนังสือพิมพ์ในโอกาสครบ 10 ปี ของวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล 2536, 44 น.

พ.ศ. 2537

พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร, วิวัฒนาการของแนวความคิดว่าด้วยสัญชาติไทยโดยหลักดินแดน, บทความเสนอในงานธรรมศาสตร์วิชาการประจำปี พ..2537, 52 น.

พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร. ฎีกาวิเคราะห์ที่ 1450/2536 สัญชาติไทยของบุตรของมารดาซึ่งถูกถอน 

            สัญชาติไทยโดยประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 337 และบิดาไทย ภายหลังวันที่ 26  

             กุมภาพันธ์ พ..2535,วารสารนิติศาสตร์, 24(2537)3, 632-653

พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร และจันทจิรา เอี่ยมมยุรา. ฎี

คำสำคัญ (Tags): #บรรณานุกรม
หมายเลขบันทึก: 250702เขียนเมื่อ 25 มีนาคม 2009 11:01 น. ()แก้ไขเมื่อ 24 มิถุนายน 2012 00:47 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

แยกกฎหมายออกจากบทความดีไหม

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท