สหรัฐฯจะวิจัยเปรียบเทียบวิธีรักษา: Comparative effectiveness research


สหรัฐฯมียอดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพสูง ในปี 2550 คิดเป็นประมาณ 2.2 พันพันล้านดอลลาร์ ($2.2 trillion คิดเป็น 16% ของ GDP) คิดว่าถ้าไม่ทำอะไรตัวเลขน่าจะขึ้นเป็น 25% ในอีก 16 ปี

สหรัฐฯจะใช้เงิน 1.1 พันล้านดอลลาร์เพื่อวิจัยเปรียบเทียบประสิทธิภาพระหว่างยาต่างๆ เครื่องมือแพทย์ การผ่าตัดและวิธีต่างๆสำหรับรักษา ภาวะทางการแพทย์ชนิดหนึ่งๆ


บ้างว่า "ต้องให้ความสำคัญในความแตกต่างระหว่างเพศในการตอบสนองต่อการรักษา"

บ้างว่า “ข้อมูลของงานวิจัยจะอิงมาจากค่าเฉลี่ยของประชากรและจะไม่สนใจความแตกต่างระหว่างผู้ป่วย"

"รัฐจะติดตามดูว่าแพทย์ได้เลือกใช้วิธีรักษาที่เหมาะสมและ มีประสิทธิภาพดีในเชิงค่าใช้จ่ายด้วย (cost-effective)"


"กังวลว่ารัฐจะนำข้อมูลไปใช้ผิดๆโดยแบ่งปันการดูแลรักษาพยาบาล )ปฏิเสธการรักษาเพื่อช่วยชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ"


"ผลน่าจะทำให้....การรักษาที่แพงกว่า มีประสิทธิภาพน้อยกว่า จะไม่นำมาใช้"




ข่าว ROBERT PEAR, U.S. to Compare Medical Treatments, February 15, 2009 
http://www.nytimes.com/2009/02/16/health/policy/16health.html

 


 

ทัศนะ

คงต้องติดตาม ไม่รู้ว่าข้อมูลการวิจัย การรักษาที่มีประสิทธิภาพดีสำหรับชาวอเมริกัน จะมีการเผยแพร่ และจะมีประโยชน์ต่อการเลือกวิธีรักษาของเราหรือไม่
ทั้งต้องระวังแนวโน้มของยาแพงที่มีประสิทธิภาพต่ำ หรือการนำยาที่ในการวิจัยเปรียบเทียบว่ามีประสิทธิภาพต่ำกว่าส่งไปขายประเทศอื่นแทน

หมายเลขบันทึก: 249670เขียนเมื่อ 20 มีนาคม 2009 10:32 น. ()แก้ไขเมื่อ 23 มิถุนายน 2012 18:22 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)
  • ระลึกถึงค่ะจึงฝ่าความยุ่งมาทักทาย
  • ปลานึ่งราดซอส ไว้ทานตอนกลางวันค่ะ

สวัสดีครับ อ.ศิลา

  • สุขกายสบายใจนะครับ ดูแลสุขภาพ แบ่งเวลาให้ดีๆสำหรับทุกอย่างให้ลงตัวครับ ขอให้มีความสุขเสมอๆ
  • ขอบคุณมากครับ น่ารับประทานมากๆครับ

 

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท