การจัดการความรู้


รูปแบบการจัดก่ความรู้

การจัดการความรู้ในโรงเรียนเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะของครูและบุคลากรในโรงเรียนให้มีความรู้  ความเข้าใจ  รู้กิจกรรม เกี่ยวกับระบบประกันคุณภาพการศึกษาให้ครู  บุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียน มีความรู้  ความเข้าใจและตระหนักเห็นความสำคัญของการประกันคุณภาพการศึกษาโรงเรียนต้องมีการเตรียมความดังต่อไปนี้

การดำเนินการพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาโรงเรียน

ที่

กิจกรรม/ งาน

การดำเนินการ

ผลที่ได้รับ

หมายเหตุ

๑.

บุคลากรมีความตระหนัก  มีความรู้ต่องานประกันคุณภาพการศึกษา

- สร้างบรรยากาศแห่งการเรียนรู้ร่วมกันต่อระบบประกัน

- ศึกษาและเรียนรู้กลไกของการประกันคุณภาพ

- การมีส่วนร่วมทุกคนในโรงเรียนต่อการประกัน

- บุคลากรมีความตระหนักมีความรู้  ความเข้าใจต่อการประกันคุณภาพการศึกษาเป็นอย่างดี

 

พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการศึกษา

- ระบบการจัดหาและรวบรวมข้อมูล

- การพัฒนาระบบสารสนเทศ  เพื่อการจัดเก็บและค้นคว้า

- การสร้างสรรค์ระบบสารสนเทศใหม่ๆ ที่สอดคล้องกับโรงเรียน

- มีข้อมูลที่ถูกต้องชัดเจนต่อการพัฒนา

- ระบบสารสนเทศของโรงเรียนถูกต้องง่ายต่อการค้นคว้า

- มีระบบสารเสนเทศทันสมัยและทันต่อเทคโนโลยี

 

กำหนดบทบาทหน้าที่ตามความรู้ความสามารถและขอบข่ายของงาน

- การมอบหมายงานต่อบุคลากรทุกคน

- กำหนดผู้ทำงาน / ผู้รับผิดชอบ

- บุคลากรรู้บทบาทหน้าที่รับผิดชอบต่อการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา

 

การกำกับ  ติดตาม

- การนิเทศ  ติดตามการทำงาน  การับผิดชอบงานตามบทบาทหน้าที่

- ทราบผลการดำเนินงานรู้ปัญหา  อุปสรรคต่อการทำงานของบุคากรและวิธี  - แนวทางแก้ปัญหา /พัฒนาต่อไป

 

สรุป / รายงาน

- มีการสรุปรายงานผลการดำเนินงานและวิจัยพัฒนาต่อไป

- มีผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในโรงเรียนที่พร้อมและถูกต้อง

 

หมายเลขบันทึก: 245198เขียนเมื่อ 27 กุมภาพันธ์ 2009 11:28 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2012 05:23 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท