ส้มโอ อ่างกะป่อง
นางสาว เรณู ส้มโอ อ่างกะป่อง หิริโอตัปปะ

การเเป็น CKO ที่ดี


คู่มือการเป็น CKO

CKO

 ที่ดี

 

 

1.

คำจำกัดความ

 

2.

บทบาทหน้าที่

 

3.

คุณลักษณะของ CKO ที่ดี

 

4.

กระบวนการทำงาน

 

-

ขั้นเตรียมการ

 

-

ขั้นดำเนินการ

 

-

ขั้นติดตามประเมินผล

 

5.

เครื่องมือที่ควรใช้ในการจัดการความรู้

 

6.

ปัจจัยแห่งความสำเร็จ

 

7. ประโยชน์ที่ได้รับ

 

8.

บทเรียนรู้จากประสบการณ์

 

 

  CKO (Chief knowledge office) คำจำกัดความ

 

1. Definition

 

2. คุณลักษณะ (Character) ของ CKO จากการประชุมการจัดการความรู้ที่สถาบันวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ ม.นเรศวร

2.1 มีความรู้, ความเข้าใจที่ดีในกระบวนการการจัดการความรู้และลักษณะที่สำคัญ, ตามแนวคิดของ Peter M. Senge อันได้แก่ personal mastery, mental Model , shared vision, Term learning, system thinking มีทัศนคติที่ดีต่อบุคลากร, ทีมงานและองค์กร

2.2 Attitude

2.3 Coordinator เป็นผู้ประสานงานและผู้จัดการความรู้ทั้งภายในและภายนอกองค์กร

2.4 Conceptual & conclusive thinking มีกรอบความคิดด้านการจัดการความรู้ที่ถูกต้องและมีความสามารถในการสรุปที่ดี

 

2.5 Communicator มีความสามารถในการสื่อสารที่ดี สามารถถ่ายทอดแนวความคิด และการสื่อสารได้ทั้งภายในและภายนอกองค์กร

2.6 Knowledge empowerment สามารถให้กำลังใจ,

ผลักดันให้มีการจัดการความรู้ให้เกิดในองค์กรได้ ส่งเสริมการจัดการความรู้ในองค์กร

2.7 Opportunities of learning สามารถสร้างให้เกิดโอกาสการเรียนรู้ภายในองค์กร, มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้, มีระบบสารสนเทศที่เหมาะสม, การตีกลับความรู้ที่เกิดขึ้นในองค์กรทุกวัน

2.8 Knowledge changer สามารถชักนำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงได้อย่างถูกต้องทั้งในแนวตรงและแนวดิ่ง

2.9 Creative modeling & innovation มีความคิดสร้างสรรค์ที่ดี, สามารถชักนำให้เกิดรูปแบบใหม่, หรือนวัตกรรมใหม่, จากการจัดการความรู้หรือคลังความรู้ที่มีอยู่

3. บทบาทหน้าที่

3.1

นำเสนอความคิดเกี่ยวกับการจัดการความรู้ให้กับทีมงานจัดการความรู้ในองค์กร

 

3.2 สร้างการยอมรับ KM ให้กับบุคลากรในองค์กร 3.3 วางแผนและกำหนดนโยบายการจัดการความรู้

3.4 ประสานงานและจัดการความรู้ทั้งภายในและภายนอกองค์กร

3.5 สนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดการนำการจัดการความรู้ไปปฏิบัติ

3.6 ติดตามประเมินผลด้านการจัดการความรู้ในโรงพยาบาล

ต้องรู้จัก KM ทั้งภายในและภายนอก

4.1.1 ชี้แจง Concept กับผู้นำและผู้ปฏิบัติ

4.1.2 กำหนดนโยบาย KM และแผนงาน

4.1.3 ค้นหาผู้เชี่ยวชาญ วางแผนและมอบหมายงานให้ทีมและคุณอำนวย

4.1.4 สร้างกระแส KM ทั่วทั้งองค์กร

4.1.5 สื่อสารกับบุคลากรในองค์กร 

4.1.6

ศึกษาและวิเคราะห์กิจกรรมที่เหมาะสมที่จะนำ KM ไปประยุกต์ใช้

 

4.1.7 เลือกเครื่องมือไปปรับใช้ให้เหมาะกับ KM เช่น การใช้เทคนิค

Dialogue

4.2 ขั้นตอนดำเนินการ

4.2.1 ประชาสัมพันธ์สื่อสารให้บุคลากรเล็งเห็นถึงความสำคัญในการนำ KM ไปใช้อย่างต่อเนื่อง

4.2.2 สร้างกลุ่มแกนนำร่วม (COP) สนับสนุนและส่งเสริมให้มีการประสานและเชื่อมโยงในกิจกรรมพัฒนาโดยนำ KM ไปประยุกต์ใช้ในกิจกรรมต่างๆ ตามความเหมาะสม ซึ่งอาจเป็นกิจกรรมที่ได้ปฏิบัติอยู่เดิม

4.2.4 สนับสนุนในการสร้างโอกาสให้มีเวทีในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และค้นหากิจกรรมพัฒนาคุณภาพตัวอย่างที่ดี (Best Practice) ขั้นติดตามและประเมินผล

4.3.1 ติดตามประเมินผลตามโครงการและแผนงานที่ได้กำหนดโดยใช้ AAR

4.3.2 รับรู้ข้อเสนอแนะและปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างการดำเนินงานรวมถึงแนวทางแก้ไข

4.3.3 สรุปผลการดำเนินงานและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์

5.

เครื่องมือที่ใช้ในการจัดการ ที่ดี

 

5.3 Motivation จัดให้มีเวที share & learn

5.4 Appraisal Reward

5.5 Remarking

 

6. ปัจจัยแห่งความสำเร็จ

6.1 CKO +

ผู้นำองค์กรเป็นบุคคลคนเดียวกัน / หรือบุคคลที่ผู้นำไว้วางใจ

 

6.2 ผู้นำองค์กรเข้าใจกระบวนการจัดการความรู้และเห็นคุณค่าว่าเกิดประโยชน์กับองค์กร

6.3 มีการกำหนดนโยบายด้านการจัดการความรู้ในระดับองค์การชัดเจน

6.4 CKO มีทัศนคติที่ดีต่อบุคลากรและองค์กร

6.5 ทีมงานบริหารจัดการความรู้ที่มีความรู้และความสามารถ

6.6 ความมุ่งมั่นของ CKO ต่อทีมงานต่อการนำ KM ไปปฏิบัติ

6.7 ระบบสารสนเทศขององค์กรที่ตอบสนองเป้าหมายของการพัฒนาการจัดการความรู้

7. ประโยชน์ที่ได้รับ

7.1

ประโยชน์ต่อผู้รับบริการ

 

7.1.1 ได้รับบริการที่เป็นมาตรฐานวิชาชีพเดียวกัน

7.1.2 ได้รับการดูแลเป็นทีมอย่างเป็นสหสาขาวิชาชีพ

7.1.3 เสี่ยงต่อชีวิตและทรัพย์สินน้อยลง

7.1.4 ได้รับบริการตรงตามสิทธิผู้ป่วย

7.1.5 สามารถยกระดับสุขภาพให้ดีขึ้น

7.2 ประโยชน์ต่อองค์กร  

7.2.1

เกิดเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้

 

7.2.2 ประหยัดทรัพยากร

7.2.3 ได้ทีมงานที่แข็งแกร่ง

7.2.4 มีแนวทางพัฒนาคุณภาพระบบงานได้อย่างต่อเนื่อง 7.2.5 เกิดเครือข่าย/สายใยความรู้ที่ช่วยเหลือกัน

7.2.6 ได้รับความไว้วางใจและความศรัทธาจากผู้รับบริการ/ชุมชน

7.3 ประโยชน์ต่อบุคลากร

7.3.1 เกิดทีมงานการเรียนรู้

7.3.2 เกิดความคิดเชิงบวก (positive Thinking) เกิดการให้อภัย/ฝึกความเป็นผู้ให้

7.3.4 เปลี่ยนแปลงกรอบแนวคิด

7.3.5 สามารถยกระดับความรู้

7.3.6 สร้างสายใยมิตรภาพแบบกัลยาณมิตร

1. การนำ KM ไปปฏิบัติแบบบูรณาการเน้นการสื่อสารและทดลองปฏิบัติกิจกรรม

2. ความร่วมมือของทีมสหสาขาวิชาชีพ เพื่อเพิ่มศักยภาพของทีมรักษาพยาบาล

3. เกิดทีมพี่เลี้ยงที่ตรงกับความสามารถ

4. สร้างเป็นงานประจำ

5. เกิดผลลัพธ์กับผู้บริการ

6. ความสำคัญกับการจัดเก็บคลังความรู้

7. Put the right man on the right job

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

คู่มือการเป็น

คำสำคัญ (Tags): #cko
หมายเลขบันทึก: 228172เขียนเมื่อ 8 ธันวาคม 2008 15:21 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2012 03:51 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

เฮีย...มึนตึ๊บเลยนู๋ส้มโอ....

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท