การรวมตัวเป็น COP และบทบาทหน้าที่ของสมาชิก


Facilitator

การรวมตัวเป็น COP

-ภายในหน่วยงานเดียวกัน
-ข้ามหน่วยงาน
-ข้ามสายการบังคับบัญชา
-ข้ามองค์กร

ประเภทของ COP
-Helping Communities: เพื่อแก้ปัญหาประจำวันและแลกเปลี่ยนแนวคิดในกลุ่มสมาชิก
-Best Practice Communities: เน้นการพัฒนา ตรวจสอบและเผยแพร่แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ
-Knowledge-Stewarding Communities: เพื่อจัดระเบียบ ยกระดับและพัฒนาความรู้ที่สมาชิกใช้เป็นประจำ
-Innovation Communities: เพื่อพัฒนาแนวคิด โดยเน้นการข้ามขอบเขตเพื่อผสมผสานสมาชิกในมุมมองที่ต่างกัน

ผลที่เกิดขึ้น
-การเรียนรู้ร่วมกัน การต่อยอดความรู้เพราะทุกคน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันตลอดเวลา
-สังคม/ชุมชน/องค์กรเกิดการพัฒนาเพราะความคิดไม่หยุดนิ่ง กลายเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้
-มีการดึงศักยภาพที่มีอยู่ในตัวบุคคลมาใช้เต็มความสามารถและสร้างความปรารถนาร่วมกัน

 

ระดับการเข้าร่วมของ COP

แกนหลัก------ขาประจำ-------ขาจร--------สังเกตการณ์เข้าร่วมแต่ไม่แสดงความคิดเห็น------------------------------ดูห่าง ๆ เมียง ๆมอง ๆ


สมาชิก COP ประกอบด้วย
-Sponsor / Leader / Champion (คุณเอื้อ)
-Facilitator (คุณอำนวย)
-Community Historian (คุณลิขิต)
-Member (คุณกิจ)

บทบาท/หน้าที่
Sponsor / Leader / Champion

-ผู้บริหารระดับกลาง – สูง
-ให้ทิศทาง แนวคิด
-สร้างการยอมรับ สื่อสาร
-สนับสนุนทรัพยากร
-สร้างแรงจูงใจ

Facilitator
-เป็นสมาชิก
-วางแผนและจัดการ
-Facilitate การแลกเปลี่ยนความรู้ใน COP
-ช่วยเหลือด้านเทคนิค
-ประสานงานกับคนนอก COP และองค์กร
-ประเมินผลและสื่อสารความสำเร็จของ COP


Community Historion
-เป็นสมาชิก
-บันทึก รวบรวมข้อมูลของกลุ่ม
-สรุป ทำฐานข้อมูล / ความรู้ที่ได้รับจากกลุ่ม


Community member
-เป็นสมาชิก
-ร่วมประชุมแสดงความคิดเห็น
-สื่อสารภายในกลุ่ม
-แลกเปลี่ยนเรียนรู้
-ร่วมกำหนด คัดเลือกหัวข้อ
-ประสานงานกับภายนอก

คำสำคัญ (Tags): #facilitators
หมายเลขบันทึก: 219747เขียนเมื่อ 30 ตุลาคม 2008 13:39 น. ()แก้ไขเมื่อ 19 มิถุนายน 2012 15:48 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท