Benchmarking เพิ่มผลผลิตให้กับองค์กรด้วยการเปรียบเทียบ


Benchmarking เพิ่มผลผลิตให้กับองค์กรด้วยการเปรียบเทียบ

Benchmarking เป็นเครื่องมือหนึ่งภายใต้แผนยุทธศาสตร์ด้านการเพิ่มผลผลิตึ่งช่วยปรับปรุงองค์กรและสร้างเครือข่ายกลุ่มองค์กรดยการทำ Benchmarking สามารถเพิ่มผลผลิตให้กับองค์กรด้วยการเปรียบเทียบผลิตภัณฑ์ริการหรือวิธีปฏิบัติงานกับองค์กรอื่นพื่อให้ได้วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices) และนำไปปรับประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับองค์กรของตน

                         เครื่องมือ Benchmarking จึงเป็นการค้นหาและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Best Practices จากองค์กรอื่นายใต้กฎกติกาที่เป็นสากลดยมีแนวคิดด้วยตระหนักในความจริงที่ว่าองค์กรเราไม่ได้เก่งในทุกเรื่องังมีองค์กรอื่นที่มีความสามารถมากกว่าเราในบางเรื่องารศึกษาจากประสบการณ์ตรงของผู้อื่นแล้วนำมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับเราะช่วยประหยัดเวลาและลดการลองผิดลองถูกให้น้อยลงับเป็นเส้นทางลัดสู่การปรับปรุงองค์กรที่ดีขึ้นึ่ง Benchmarking เป็นเครื่องมือที่ได้รับการสนใจและนิยมใช้กันอย่างกว้างขวางในระดับสากลนื่องจากผ่านการพิสูจน์แล้วว่าทำได้ผลจริง

                สำหรับการทำ Benchmarking ในหัวข้อตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (Thailand Quality Award: TQA) กับกลุ่มสถานศึกษานั้นีเป้าหมายเพื่อให้กลุ่มสถานศึกษาทั้งหมดที่เข้าร่วมโครงการได้ทราบถึงจุดเด่นและจุดที่ต้องปรับปรุงในการบริหารจัดการตามมาตรฐานสากลอย่างเป็นระบบวมทั้งหาแนวทางพัฒนาด้วยการเปรียบเทียบ้นหาละแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Best Practices  ะหว่างสถานศึกษาลอดจนองค์กรชั้นนำอื่น ๆ ที่มีความสามารถหรือมี Best Practices เป็นที่ยอมรับในระดับสากลึ่งมุ่งหวังให้สถานศึกษาที่เข้าร่วมโครงการนำ Best Practices ที่ได้รับไปปรับประยุกต์ให้เหมาะกับแต่ละสถานศึกษาังประโยชน์การเพิ่มขีดศักยภาพสถานศึกษาให้สูงขึ้นและมุ่งสู่ความเป็นเลิศในการจัดการระดับโลก

หมายเลขบันทึก: 209093เขียนเมื่อ 16 กันยายน 2008 14:13 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2012 02:08 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท