โครงงานทรงพล


การเรียนการสอนสังคม

โครงการสังคมศึกษา

เรื่อง  การสร้างแบบฝึกเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์

 

ผู้จัดทำ                        นายทรงพล  อารมณ์เย็น

ที่มาและความสำคัญของโครงการ

                   จากการทดสอบความรู้พื้นฐานการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้น ป. 4 จำนวน   70   คน โรงเรียนบ้านคลองหวะ ( ทวีรัตน์ราษฎร์บำรุง ) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสงขลาเขต  2   มีนักเรียนที่ได้คะแนนไม่ถึงเกณฑ์ที่กำหนดไว้ถึงร้อยละ  75  เป็นที่ไม่น่าพอใจ    ครูผู้สอนจึงคิดค้นหาวิธีแก้ไขปัญหา  โดยการจัดทำเครื่องมือเพื่อเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ให้กับนักเรียนทั้งห้องในชั้นนี้

 

วัตถุประสงค์

1.      เพื่อแก้ปัญหาการเรียนการสอนคิดวิเคราะห์ให้กับนักเรียนที่ได้คะแนนจากการทดสอบความรู้พื้นฐาน ซึ่งมีถึงร้อยละ 75.

2.      เพื่อพัฒนาความสามารถในการเรียนการสอนวิชาสังคม

3.      เพื่อใช้เป็นสื่อเผยแพร่การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สังคมชั้น  ป.  4

 

ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า

            เนื้อหา    การอ่าน การเขียนคำ และการเรียนสังคม

            สถานที่  ห้องเรียน ชั้น  ป. 3 โรงเรียนบ้านคลองหวะ( ทวีรัตน์ราษฎร์บำรุง)             

ระยะเวลาศึกษา  วันที่  1 เดือนมิถุนายนพ..2550  -   วันที่  1   เดือนตุลาคม พ..2551

 

อุปกรณ์และวัสดุที่ใช้ในการศึกษา

1.      เครื่องเขียน

2.      เอกสารเกี่ยวกับวิชาสังคม

3.      แหล่งข้อมูล

 

 

วิธีการศึกษา

1.      ทดสอบความรู้พื้นฐานของนักเรียนเรื่อง  การอ่าน คิดวิเคราะห์และการเขียนคำ

2.      นำคะแนนที่ได้จากการทดสอบมาหาค่าสถิติ  ร้อยละ   ค่าเฉลี่ย 

3.      สร้างแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านและการเขียนคำในวิชาสังคม

4.      นำข้อมูลมารวบรวม  สรุปผล

 

ผลการศึกษา

            ได้จัดทำแบบฝึกเสริมทักษะคิดวิเคราะห์ การอ่านและการเขียนคำในสังคม  จำนวน  20   ชุด  แบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน  50  ข้อ  นักเรียนมีค่าเฉลี่ยคะแนนจากการทดสอบหลังเรียนสูงกว่าทดสอบก่อนเรียน  จัดทำเอกสารชุดแบบฝึกใช้ภายในโรงเรียนและเผยแพร่ไปยังห้องเรียนอื่น

 
อภิปรายผลการศึกษา

        การเรียนรู้คิดวิเคราะห์ที่ถูกต้อง    ต้องยึดกฎเกณฑ์ฟัง พูด อ่าน เขียน  ให้ผู้เรียนมีความแม่นยำใน

หลักไวยากรณ์  จึงจะส่งผลให้ผู้เรียนเกิดความมั่นใจในการใช้คิดวิเคราะห์เพื่อสื่อสารทั้งในด้าน

การพูด  การอ่าน  และการเขียน  เพราะการเรียนรู้จากกฎเกณฑ์จะนำมาซึ่งความถูกต้องและมั่นคงตลอดไป

 

สรุปผลการศึกษา

            นักเรียนสามารถการอ่าน คิดวิเคราะห์และการเขียน

 
ประโยชน์ที่ได้รับ

1.      ทำให้ผู้เรียนมีทัศนคติที่ดีต่อสังคม

2.      ทำให้ผู้เรียนมีความมั่นใจในการเรียนวิชาสังคม 

3.      ทำให้ผู้เรียนมีทักษะความรู้เกี่ยวกับการคิดวิเคราะห์มากยิ่งขึ้น  และมี

ประสิทธิภาพ

            4.  ทำให้ผู้เรียนเกิดความรักและภูมิใจในท้องถิ่นของตนเอง

 

ข้อเสนอแนะ

1.      ทำโครงงานวิชาสังคมที่ถูกต้อง

2.      นักเรียนรวบรวมแบบฝึกแต่ละชุดไว้เป็นรูปเล่ม

                     คร

                                                                                       

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

iyu

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

iyu

 

 

 

 

 

 

 

 

หมายเลขบันทึก: 193782เขียนเมื่อ 12 กรกฎาคม 2008 14:36 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2012 01:00 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท