เด็กออกกลางคัน


 

 

 

 

 

 

ในเดือนมีนาคม

2549 มูลนิธิ Bill&Melinda Gates ได้จัดทำรายงานชื่อ ภัยเงียบ

มุมมองจากนักเรียนที่ออกกลางคัน

รายงานดังกล่าวได้นำเสนอข้อมูลว่า ในสหรัฐอเมริกา

นักเรียนในระดับชั้นมัธยมกว่า

 

1 ใน 3 ออกกลางคัน แต่หากเป็นนักเรียนจากกลุ่มผิวดำหรือ

ชนกลุ่มน้อย อัตราการออกกลางคันจะสูงขึ้นเป็นกว่าครึ่ง หลังจากนั้นปัญหาการออกกลางคัน

ได้รับการประโคมข่าวจากสื่อมวลชนทุกแขนง และเกิดการโต้เถียงว่าอัตราการออกกลางคัน

จริงๆ สูงเพียงใด แท้จริงแล้วการออกกลางคันจะสูงเพียงใดไม่ใช่ประเด็นหลักเท่ากับการที่เยาวชน

เหล่านี้จะต้องสูญเสียโอกาสที่จะมีอาชีพและอนาคตที่ดี และประเทศชาติยังต้องสูญเสีย

ค่าใช้จ่ายที่จะต้องจัดสวัสดิการให้แก่เยาวชนที่ไม่มีงานทำหรือบำบัดรักษาจากปัญหายาเสพติด

และพฤติกรรมต่างๆ

หากจะถามว่าเมื่อใดปัญหานักเรียนออกกลางคันจะยุติลง คำตอบที่เราพอ

สรุปได้จากประสบการณ์ที่ผ่านมา คือ เยาวชนจะยุติการออกกลางคันได้เมื่อสังคมสนับสนุน

ให้เขามีปัจจัยและทรัพยากรที่จำเป็น ที่จะอยู่ในโรงเรียนจนจบการศึกษาและเตรียมความ

พร้อมสำหรับอนาคต เราต้องยอมรับว่าปัญหาที่เราเผชิญอยู่ไม่ใช่ปัญหาของเยาวชน แต่เป็น

ปัญหาของผู้ใหญ่ที่ล้มเหลวในการวางระบบช่วยเหลือดูแลเยาวชนให้ปลอดภัย แข็งแรงและ

มีแรงจูงใจที่จะทำความดี การปฏิรูปการศึกษาไม่ว่าจะได้ผลเพียงไร จะไม่สามารถแก้ปัญหา

การออกกลางคันได้ แต่จะต้องอาศัยความร่วมแรงร่วมใจของทุกฝ่ายในสังคมที่จะเป็น

แบบอย่างที่ดี ที่จะช่วยสร้างความหวังและแรงจูงใจให้แก่เยาวชน

หนังสือเล่มนี้ได้ถอดบทเรียนจากการทำงานกับนักเรียนที่ออกกลางคันจากโรงเรียน

แต่ได้กลับไปเรียนใหม่เพื่อให้ได้ประกาศนียบัตร เด็กเหล่านี้ต่ำกว่ามาตรฐานในทุกเรื่อง

แต่เมื่อได้รับการช่วยเหลือดูแล ก็สามารถอยู่ในโรงเรียนจนจบการศึกษาได้ ด้วยหลักการ

9

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ข้อที่เราได้ประมวลจากการทำงานจริง ได้แก่

1.

 

โครงการใดๆ ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงเด็กได้จริง ความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ใหญ่

ที่จริงใจและพร้อมจะสนับสนุนให้เด็กคนนั้นประสบความสำเร็จในชีวิตเท่านั้นที่จะสามารถ

เปลี่ยนแปลงเด็กได้จริง การจัดหาที่ปรึกษาหรือ

 

พี่ชายพี่สาว

ให้เด็กๆ ที่ด้อยโอกาสและ

มีปัญหา เป็นแนวทางหนึ่งที่ได้ผลและกำลังขยายเครือข่ายไปทั่วสหรัฐอเมริกา

สรุปสาระสำคัญจากหนังสือ

The Last Dropout : Stop the Epidemic

โดย

 

Bill Millken

2

2.

 

การออกกลางคันไม่ใช่ปัญหาการศึกษาเท่านั้น แต่เป็นภาพสะท้อนความล้มเหลว

ของผู้ใหญ่ในสังคม เด็กกลุ่มเสี่ยงเหล่านี้ต้องการความสนับสนุนจากทุกภาคส่วนที่จะต้อง

เข้ามาในโรงเรียนเพื่อช่วยเหลือดูแลเยาวชน

3.

 

สิ่งที่เยาวชนต้องการมิใช่ความสามารถในการอ่านออกเขียนได้ คิดเลขเป็นเท่านั้น

แต่จะต้องครอบคลุมถึงความสัมพันธ์อันดีกับผู้ใหญ่ที่ห่วงใย สถานที่ที่ปลอดภัยที่จะ

เจริญเติบโตและเรียนรู้ จุดเริ่มต้นของชีวิตที่ดีและอนาคตที่ดี ทักษะที่จะเป็นประโยชน์

ในตลาดแรงงานเมื่อสำเร็จการศึกษา ตลอดจนโอกาสที่จะรับใช้เพื่อนฝูงและสังคม

4.

 

สังคมจะต้องช่วยกันถักทอสายใยแห่งความช่วยเหลือดูแลเด็กๆ ที่มี

ประสิทธิภาพ มีความประสานสัมพันธ์ที่ดีและตอบสนองความต้องการความจำเป็นของเด็ก

แต่ละคน

5.

 

ทุกสังคมจำเป็นต้องมีองค์กรที่เป็นกลาง ทำหน้าที่เสมือนตาวิเศษ ติดตามดูแล

ประสานสัมพันธ์เพื่อระดมทรัพยากรมาช่วยเหลือดูแลเด็กๆ

6.

 

นักการศึกษาและผู้กำหนดนโยบาย ต้องตระหนักว่าไม่สามารถแก้ปัญหาได้

ตามลำพัง แต่จำเป็นต้องเปิดใจที่จะรับคำแนะนำสนับสนุนจากฝ่ายต่างๆ

7.

 

การสงเคราะห์เด็กด้อยโอกาสไม่สามารถแก้ปัญหาการออกกลางคันให้

สำเร็จได้แต่ต้องมีการเปลี่ยนแปลงระบบการช่วยเหลือดูแลเด็กจากมิติต่างๆ ทั้งระบบ

8.

 

การเปลี่ยนแปลงที่ยั่งยืนจะเกิดขึ้นได้ต้องขึ้นอยู่กับการขยายผล การสร้าง

ปัจจัยที่เอื้ออำนวยต่อการพัฒนาที่ยั่งยืน และการวางแผนยุทธศาสตร์ที่วางอยู่บนประสบการณ์

ของการปฏิบัติจริง

9.

 

เยาวชนของเราต้องการสาม

สิ่งจากพวกเรา คือ ความตระหนักในปัญหา

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ในเดือนมีนาคม

 

2549 มูลนิธิ Bill&Melinda Gates ได้จัดทำรายงานชื่อ

ภัยเงียบ

มุมมองจากนักเรียนที่ออกกลางคัน

 

 

รายงานดังกล่าวได้นำเสนอข้อมูลว่า ในสหรัฐอเมริกา

นักเรียนในระดับชั้นมัธยมกว่า

 

 

1 ใน 3

ออกกลางคัน แต่หากเป็นนักเรียนจากกลุ่มผิวดำหรือ

 

 

9

ข้อที่เราได้ประมวลจากการทำงานจริง ได้แก่

1.

 

โครงการใดๆ ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงเด็กได้จริง ความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ใหญ่

 

 

พี่ชายพี่สาว

ให้เด็กๆ ที่ด้อยโอกาสและ

 

สรุปสาระสำคัญจากหนังสือ

The Last Dropout : Stop the Epidemic

โดย

 

Bill Millken

2

2.

 

การออกกลางคันไม่ใช่ปัญหาการศึกษาเท่านั้น แต่เป็นภาพสะท้อนความล้มเหลว

 

3.

 

สิ่งที่เยาวชนต้องการมิใช่ความสามารถในการอ่านออกเขียนได้ คิดเลขเป็นเท่านั้น

 

4.

 

สังคมจะต้องช่วยกันถักทอสายใยแห่งความช่วยเหลือดูแลเด็กๆ ที่มี

 

5.

 

ทุกสังคมจำเป็นต้องมีองค์กรที่เป็นกลาง ทำหน้าที่เสมือนตาวิเศษ ติดตามดูแล

 

6.

 

นักการศึกษาและผู้กำหนดนโยบาย ต้องตระหนักว่าไม่สามารถแก้ปัญหาได้

 

7.

 

การสงเคราะห์เด็กด้อยโอกาสไม่สามารถแก้ปัญหาการออกกลางคันให้

 

8.

 

การเปลี่ยนแปลงที่ยั่งยืนจะเกิดขึ้นได้ต้องขึ้นอยู่กับการขยายผล การสร้าง

 

9.

 

เยาวชนของเราต้องการสาม

สิ่งจากพวกเรา คือ ความตระหนักในปัญหา

 

 

ปัจจัยที่เอื้ออำนวยต่อการพัฒนาที่ยั่งยืน และการวางแผนยุทธศาสตร์ที่วางอยู่บนประสบการณ์

ของการปฏิบัติจริง

สำเร็จได้แต่ต้องมีการเปลี่ยนแปลงระบบการช่วยเหลือดูแลเด็กจากมิติต่างๆ ทั้งระบบ

ตามลำพัง แต่จำเป็นต้องเปิดใจที่จะรับคำแนะนำสนับสนุนจากฝ่ายต่างๆ

ประสานสัมพันธ์เพื่อระดมทรัพยากรมาช่วยเหลือดูแลเด็กๆ

ประสิทธิภาพ มีความประสานสัมพันธ์ที่ดีและตอบสนองความต้องการความจำเป็นของเด็ก

แต่ละคน

แต่จะต้องครอบคลุมถึงความสัมพันธ์อันดีกับผู้ใหญ่ที่ห่วงใย สถานที่ที่ปลอดภัยที่จะ

เจริญเติบโตและเรียนรู้ จุดเริ่มต้นของชีวิตที่ดีและอนาคตที่ดี ทักษะที่จะเป็นประโยชน์

ในตลาดแรงงานเมื่อสำเร็จการศึกษา ตลอดจนโอกาสที่จะรับใช้เพื่อนฝูงและสังคม

ของผู้ใหญ่ในสังคม เด็กกลุ่มเสี่ยงเหล่านี้ต้องการความสนับสนุนจากทุกภาคส่วนที่จะต้อง

เข้ามาในโรงเรียนเพื่อช่วยเหลือดูแลเยาวชน

มีปัญหา เป็นแนวทางหนึ่งที่ได้ผลและกำลังขยายเครือข่ายไปทั่วสหรัฐอเมริกา

ที่จริงใจและพร้อมจะสนับสนุนให้เด็กคนนั้นประสบความสำเร็จในชีวิตเท่านั้นที่จะสามารถ

เปลี่ยนแปลงเด็กได้จริง การจัดหาที่ปรึกษาหรือ

ชนกลุ่มน้อย อัตราการออกกลางคันจะสูงขึ้นเป็นกว่าครึ่ง หลังจากนั้นปัญหาการออกกลางคัน

ได้รับการประโคมข่าวจากสื่อมวลชนทุกแขนง และเกิดการโต้เถียงว่าอัตราการออกกลางคัน

จริงๆ สูงเพียงใด แท้จริงแล้วการออกกลางคันจะสูงเพียงใดไม่ใช่ประเด็นหลักเท่ากับการที่เยาวชน

เหล่านี้จะต้องสูญเสียโอกาสที่จะมีอาชีพและอนาคตที่ดี และประเทศชาติยังต้องสูญเสีย

ค่าใช้จ่ายที่จะต้องจัดสวัสดิการให้แก่เยาวชนที่ไม่มีงานทำหรือบำบัดรักษาจากปัญหายาเสพติด

และพฤติกรรมต่างๆ

หากจะถามว่าเมื่อใดปัญหานักเรียนออกกลางคันจะยุติลง คำตอบที่เราพอ

สรุปได้จากประสบการณ์ที่ผ่านมา คือ เยาวชนจะยุติการออกกลางคันได้เมื่อสังคมสนับสนุน

ให้เขามีปัจจัยและทรัพยากรที่จำเป็น ที่จะอยู่ในโรงเรียนจนจบการศึกษาและเตรียมความ

พร้อมสำหรับอนาคต เราต้องยอมรับว่าปัญหาที่เราเผชิญอยู่ไม่ใช่ปัญหาของเยาวชน แต่เป็น

ปัญหาของผู้ใหญ่ที่ล้มเหลวในการวางระบบช่วยเหลือดูแลเยาวชนให้ปลอดภัย แข็งแรงและ

มีแรงจูงใจที่จะทำความดี การปฏิรูปการศึกษาไม่ว่าจะได้ผลเพียงไร จะไม่สามารถแก้ปัญหา

การออกกลางคันได้ แต่จะต้องอาศัยความร่วมแรงร่วมใจของทุกฝ่ายในสังคมที่จะเป็น

แบบอย่างที่ดี ที่จะช่วยสร้างความหวังและแรงจูงใจให้แก่เยาวชน

หนังสือเล่มนี้ได้ถอดบทเรียนจากการทำงานกับนักเรียนที่ออกกลางคันจากโรงเรียน

แต่ได้กลับไปเรียนใหม่เพื่อให้ได้ประกาศนียบัตร เด็กเหล่านี้ต่ำกว่ามาตรฐานในทุกเรื่อง

แต่เมื่อได้รับการช่วยเหลือดูแล ก็สามารถอยู่ในโรงเรียนจนจบการศึกษาได้ ด้วยหลักการ

หมายเลขบันทึก: 189634เขียนเมื่อ 22 มิถุนายน 2008 15:05 น. ()แก้ไขเมื่อ 14 มิถุนายน 2012 08:18 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท