เราคงเคยได้ยินมาแล้วว่า กับคำว่า พนักงานที่เพียบพร้อมด้วยภูมิปัญญา (Knowledge Worker) ซึ่งจะเป็นปัจจัยสำคัญต่อการพัฒนาสินค้าอัจฉริยะ (Knowledge Products) นั่นก็แสดงว่าองค์กรนั้นๆ ย่อมมี
@ ระบบและเทคนิคสำหรับการบริหาร พัฒนา และดูแลรักษาภูมิปัญญาที่มีอยู่แล้วในองค์กร ให้เป็นรูปธรรม
@ การสร้างองค์ประกอบอื่น และสิ่งแวดล้อมโดยทั่วไป ในสถานที่ทำงาน ให้สามารถสนับสนุนต่อการเกิดการเรียนรู้ใหม่ๆ และพัฒนาภูมิปัญญาใหม่ๆ ที่ยังไม่เคยมีมาก่อน
@ เน้นการมุ่งใช้วิธีการสร้างเสริมประสบการณ์การทำงานอย่างเป็นหมวดหมู่ (Structured Experience) โดยกลับมาเรียนรู้จากงานที่ปฎิบัติให้ถ่องแท้ (Learning) แล้วจึงคิดวิเคราะห์ไปข้างหน้า เพื่อนำมาปรับปรุงให้เกิดเป็น วงจรแห่งการสร้างเสริมประสบการณ์การทำงาน (Experiential Learning Cycle)
@ การขยายผลวิธีการบริหารภูมิปัญญา ให้เป็นมาตรฐานที่จะใช้ปฎิบัติกันทุกตัวคน และทุกหน่วยงาน
ไม่มีความเห็น