การวาดภาพทางวิทยาศาสตร์


Scientific Illustrations

การวาดภาพทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Illustrations)

ภาพวาดทางวิทยาศาสตร์มีข้อได้เปรียบภาพถ่าย และการการให้ข้อมูลด้วยการบรรยาย ในขณะที่ภาพถ่ายจำเป็นต้องเฉพาะเจาะจงลงไปที่ตัวอย่างเพียงชิ้นเดียว  ภาพถ่ายมักมีบริเวณที่ไม่ชัด และมีเงามืด ซึ่งไม่สมารถบอกรายละเอียดในบริเวณนั้นๆได้ แต่ภาพวาดที่ดีสามารถแสดงรายละเอียดของชั้นเซลล์ เนื้อเยื่อ และอวัยวะที่ซ้อนทับกัน สมารถแสดงรายละเอียดที่สำคัญหรือประกอบชิ้นส่วนที่แตกหัก หลุดจากกันลงบนกระดาษ อย่างที่กล้องถ่ายภาพทำไม่ได้

คำสำคัญ (Tags): #ภาพวาดที่ดี
หมายเลขบันทึก: 172851เขียนเมื่อ 25 มีนาคม 2008 10:01 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2012 23:16 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (10)

อยากวาดภาพทางวิทยาศาสตร์เป็นบ้างคะ สนใจมาก ยากมั้ยคะ เด็กสมุนไพร อิอิ

ไม่ยากครับ ง่ายๆ เริ่มจากวาดสิ่งที่อยู่ใกล้ตัว

แค่คุณมีดินสอ ยางลบ และกระดาษวาดเขียน เท่านี้ คุณก็สามารถเดินไปไหนต่อไหนได้ เช่นในป่า ถ้ำ เป็นต้น

พยามหัดวาดภาพไปเรื่อยๆครับ

ต้องการบุคคลากรด้านนี้อยู่มั้ยค่ะ จบเคมีมาสามารถวาดได้หรือเปล่า

อยากเรียนวาดภาพ และเรียนฟิสิกส์ด้วย ติดต่อครูฟิสิกส์ให้หน่อยนะคะ

เด็กสมุนไพรคะอ่านคำคมของมอดหรือยังคะ ช่วยแสดงความคิดเห็นด้วยนะคะ

สวัสดีค่ะเด็กสมุนไพร

ตอนนี้เป็นร้อนในที่ปากกินอะไรก็ไม่อร่อย พอจะแนะนำวิธีรักษาแบบง่าย ๆ ได้ไหมค่ะ

แสดงว่าสาวกาฬสินธ์นอนไม่เพียงพอ

วิธีที่ง่ายที่สุดก็คือ ต้องดื่มน้ำเยอะ นอนหลับให้เพียงพอ นะครับ

..เครือข่ายวิทย์สานศิลป์ จัดอบรมการวาดภาพทางวิทยาศาสตร์ (การวาดกล้วยไม้ด้วยเทคนิคสีน้ำ)6,13,20,27 มิถุนายน 2552 สนใจติดต่อ ที่ [email protected]

วาดยังไงค่ะ

ไม่เห็นจะเข้าใจเลยค่ะ

สนใจก็เข้าชมรมเครือข่ายวิทย์สานศิลป์ ได้นะ เพราะเราเคยไปอบรมที่ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล รุ่นที่ 9 เขาจะมีอบรมทุกปี ประมาณเดือน กพ.-เมย.

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท