หลักคิดสู่ความเป็นผู้นำ


หลักคิดสู่ความเป็นผู้นำ

หลักคิดสู่ความเป็นผู้นำ

มนุษย์สร้างโลก   ผู้นำสร้างประวัติศาสตร์  มีแต่คนเข้มแข็งเท่านั้นที่จะชนและมีชีวิตอยู่รอด        คนอ่อนแอจะพ่ายแพ้และดับสูญ   นี่คือหลักการที่ไม่วันเปลี่ยนแปลงของเกมชีวิต

                หนังสือเล่มนี้คัดเลือกและเรียบเรียงจาก สือปาสื่อเลี่ยเป็นประวัติศาสตร์จีน เป็นแบบบันทึกแบบอย่างชีวิต ทั้งผู้ที่หมั่นฝึกฝนตนเองเพื่อก้าวสู่ชัยชนะ  และผู้ที่หาเราหายนะเพราะชัยชนะ  ยามลำบากจะต้องฝึกฝนตนอย่างไร  มีวิธีฟันฝ่าอุปสรรคขวากหนามอย่างไร  ยามชนะพึงระมัดระวังปัญหาอย่างไร  ต่อสู้อย่างไรจึงจะชนะเพื่อนำมาประยุกต์ใช้กับชีวิตจริงจะช่วยให้เรามีความคิดลึกซึ้ง ซึ่งได้กล่าวว่า

                บทที่ 1            ผู้นำต้องมีสายตายาวไกล

                                อย่าประเมินอนาคตโดยมองแค่ปัจจุบัน

                   ประสบความสำเร็จเพราะรู้จักกาลเทศะและฐานมวลชน

-         ศึกษาวิจัยสถานการณ์

-         ประเมินกำลังของแต่ละฝ่าย

-         ศึกษาและเข้าใจอุปนิสัยของผู้นำ  ของงานอย่างลึกซึ้ง

-         มองและเข้าใจสถานภาพหรือจุดยืนของตัวเองตลอดเวลา

                          ทำให้ความฝันกลายเป็นความจริง

-         สืบเสาะข่าวสารและศึกษาวิเคราะห์สถานการณ์ทั้งภายในและภายนอกอย่างละเอียดถี่ถ้วน                    

-         วางแผน  กำหนดนโยบายในการดำเนินการอย่างมีขั้นตอน

-         ทุ่มเงินซื้อใจผู้ที่สามารถอำนวยประโยชน์แก่ตัวเอง

                                ต้องสนใจความคิดเห็นที่เอาอกเอาใจให้มาก

-         ผู้นำควรตรวจสอบแผนการต่าง ๆ  อยู่เสมอโดยคำนึงถึงความเป็นจริงเป็นที่ตั้ง

                                อย่าตัดสินอะไรในขณะที่จิตใจเต็มไปด้วยความละโมบโลภมาก

                                                -  ก่อนหน้าที่ตัดสินใจทำสิ่งใด  เราควรคำนึงถึงความเสี่ยวไว้บ้าง

                                ยืนหยัดเข็มมุ่งทำตามแผนงาน

                             -  ผู้นำต้องกุมสภาพการณ์ที่เป็นจริงให้ได้  จุดสำคัญของการคาดการณ์อย่างถูกต้องแม่นยำนั้นอยู่ที่  รู้เขารู้เรา   

 

                บทที่ 2 วิธีจุดประกายความคิดสร้างสรรค์

                                สนใจยุทธศาสตร์ ยุทธวิธี

-         รวบรวมข่าวสาร

-         ทุมเทสติปัญญาศึกษาวิจัย

-         เตรียมการต่าง ๆ ให้พร้อม

                                มองหลาย ๆ ด้านก็จะพบความแตกต่าง

-         อย่าปล่อยให้ความคิดถูกผูมัดด้วยสูตรสำเร็จรูปที่ตายตัว  เวลามองปัญหา เราควรจะทดลองมองด้วยทัศนะหลายแง่หลายมุม

-         ต้องมีจินตนาการอันหลากหลาย

-         ต้องมีสมาธิในการคิดใคร่ครวญ

                                แก้วิกฤตการณ์ด้วยความคิดอันเฉียบขาด

-         ต้องปรับเปลี่ยนความคิดให้เข้ากับสภาพ  จึงจะผ่านวิกฤตต่าง ๆ ได้

                                กุมจุดสำคัญของปัญหาให้ได้

-         มีเป้าหมายที่แจ่มชัด

-         รู้จุดปัญหาว่าอยู่ตรงไหน

-         ไม่ท้อใจ  หมั่นคิดค้น  หมั่นตรวจสอบ

-         เรื่องที่มองผิวเผินแล้วรู้สึกว่าไร้สาระ ก็ต้องนำมาคิดใคร่ครวญให้ดี

                                ต้องรู้จิตวิทยาฝูงชน

                             -  ขวัญและกำลังใจของกลุ่มชนเป็นสิ่งเปราะบาง ถูกสัญญาณต่าง ๆ บงการได้ง่าย  สัญญาณบางอย่างทำให้ขวัญและกำลังใจของฝูงชนฮึกเหิมยิ่งขึ้น   สามัคคีกันแน่นแฟ้นยิ่งขึ้น  พลังเข้มแข็งเกรียงไกรมากยิ่งขึ้น   แต่สัญญาณบางอย่างกลับบั่นทอนพลังของกลุ่มชนให้อ่อนแอลง

 

                บทที่  3 ความสามารถในการเก็บรับข้อมูล ข่าวสาร

                                กลั่นกรองข่าวสาร อย่าเก็บรับเอามาทั้งดุ้น

                                สนใจคุณภาพของข่าว

-         ไม่ควรเชื่อข่าวลือต่าง ๆ

-         ไม่ควรรับฟังข่าวที่ตนเองชอบหรือเป็นผลดีต่อตนเอง

-         ต้องพยายามสืบข่าวจาก แหล่งต่าง ๆ  หลาย ๆ แหล่ง

-         ควรพินิจพิเคราะห์ดูว่าข่าวสารนั้นน่าเชื่อถือสักแค่ไหน

-         ควรติดตามข่าวสารต่าง ๆ เป็นประจำไม่ใช่ติดตามข่าวเมื่อยามจำเป็นเท่านั้น

-         ต้องแยกแยะว่าข่าวนั้นจริงเท็จน่าเชื่อถือสักแค่ไหน

                                ต้องรู้จักรวบรวมข่าวสาร ข้อมูล

                                ต้องรู้จักอุปนิสัยใจคอของผู้ให้ข่าว

                                อยู่ห่างพวกประจบสอพลอ  จึงจะทราบข้อมูลที่ใกล้เคียงกับความเป็นจริง

                                เมื่อได้รับข่าวดี  อย่างเพิ่งเชื่อ  ควรตั้งข้อสงสัยเอาไว้บ้าง

 

                บทที่  4 การตัดสินใจท่ามกลางวิกฤต

                                ผู้นำต้องรู้สภาพการณ์ต่าง ๆ  อย่างแท้จริง

                                ต้องกล้าปฏิเสธข้อเรียกร้องที่ไม่สมเหตุสมผล

                                เมื่อจนตรอก  ก็จะอึดสู้และสามัคคีกันอย่างแน่นเหนียว

                                ต้องต่อสู้กับความยากลำบาก

                             -  ผู้นำต้องรู้จักวิเคราะห์ปัญหาอย่างเอาการเอางานและรู้จักคิดค้นหาวิธีแก้ปัญหาอย่างถูกต้องจะต้องมีท่าทีที่เอกจริงเอาจัง  ทุ่มเทให้กับงาน ไม่ปล่อยให้ปัญหาคาราคาซังโดยไม่พยายามคิดหาวิธีแก้ไข

                                ตัดสินใจด้วยความเฉียบขาด

 

                บทที่ 5  ยืนหยัดต่อสู้

อย่าเอาแต่ท่องทฤษฎีโดยไม่ลงมือปฏิบัติ

จุดไฟอุดมการณ์ให้ลุกโชนอยู่เสมอ

เดินหน้าไม่ได้  ควรถอยตั้งหลัก

ต้องรักษาท่วงทำนองที่ถ่อมตน

การตัดสินใจที่ถูกต้องกับปณิธานอันแน่วแน่เป็นบ่อเกิดแห่งพลัง

-         กุมสภาพที่แท้จริงได้

-         อาศัยทฤษฎี  สมมติเหตุการณ์ที่น่าจะเกิดขึ้นแล้วคิดหาวิธีรับมือที่ดีที่สุด

-         เลือกวิธีการที่เห็นว่าดีที่สุจากยุทธศาสตร์แต่ละขั้นแต่ละตอน

 

            บทที่ 6  ต้องมียุทธศาสตร์  - ยุทธวิธี

                                ต้องคำนึงถึงผลประโยชน์ส่วนรวมเป็นที่ตั้ง

                                ต้องสร้างฐานมวลชน

                                ผู้นำต้องรวมศูนย์พลังสู้รบได้

-         ไม่ใส่ใจกับปัญหาจุกจิกหยุมหยิมมากเกินไป  ควรชี้แนะลูกน้องเฉพาะจุดสำคัญ ๆ  เท่านั้น  รายละเอียดปลีกย่อยอื่น ๆ  ควรปล่อยให้ลูกน้องจัดการกันเอง

-         ต้องประเมินความสามารถและผลงานได้อย่างถูกต้อง

-         ต้องชี้แนะการงานอย่างเอาจริงเอาจัง

-         ใจคอกว้างขวาง รู้จักให้อภัย  ดูแลลูกน้องอยู่เสมอ

                                เพื่อชัยชนะ ห้ามเห็นใจข้าศึก

                                ผู้นำพึงร่วมทุกข์ร่วมสุขกับลูกน้อง

 

                บทที่  7  เทคนิคการใช้คน

                             เลือกใช้คนโดยดูจากความสามารถ

                                บางครั้งความสามารถก็สำคัญกว่าคุณธรรม

                                หลักการในการคัดเลือกบุคลากร

-         คนผู้นั้นชอบศึกษาค้นคว้าหรือไม่

-         คนผู้นั้นใฝ่ก้าวหน้าหรือไม่

-         คนผู้นั้นมีจิตใจรับผิดชอบหรือไม่

-         คนผู้นั้นยอมรับความจริงหรือไม่  ชนะไม่เย่อหยิ่ง  แพ้ไม่ท้อถอย

-         คนผู้นั้นอ่อนน้อมถ่อมตัวและรู้จักให้อภัยผู้อื่นหรือไม่

                                ให้ค่าตอบแทนสูง จึงจะได้คนเก่งไว้ช่วยงาน

                                ต้องมีบุคลากรด้านต่าง ๆ

 

                บทที่  8  ความยืดหยุ่นขององค์กร

                                ลดสิ่งชั่วร้ายให้เหลือน้อยที่สุดเท่าที่จะน้อยได้

                                ผิดแล้วต้องกล้าแก้ไข

                                ต้องรู้จักผูกใจลูกน้อง

                                ต้องเดินแนวทางมวลชน

-         ต้องเดินแนวทางมวลชนเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับมวลชน

-         ต้องสนใจอารมณ์ความรู้สึกของสมาชิกในองค์กร

-         ต้องตระหนักถึงความสำคัญของความสามัคคี

 

                บทที่  9 &

หมายเลขบันทึก: 169994เขียนเมื่อ 9 มีนาคม 2008 19:56 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2012 23:03 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

ไม่อนุญาตให้แสดงความเห็น
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท