ปลาหมอไทย
(ปลาหมอสะเด็ด หรือ ปลาเข็ง) (
Climbing Perch )
ชื่อทางวิทยาศาสตร์: Anabas testudineus
ลักษณะทั่วไป
รูปร่างป้อม ลำตัวด้านข้างแบน หัวเล็ก จะงอยปากสั้นทู่ นัยน์ตาค่อนข้างเล็กอยู่ใกล้กับปลายจมูก กระดูกขอบกระพุ้งเหงือกหยักเป็นฟันเลื่อยแหลมและแข็ง ซึ่งเรียกกันทั่วไปว่า เหงือกปลาหมอ อวัยวะส่วนนี้ใช้สำหรับการเคลื่อนไหวไปบนบก ครีบหลังยาว ลำตัวมีสีน้ำตาลปนเหลือง ด้านท้องสีจะจางกว่า มีอวัยวะช่วยหายใจในปากทำใหัสามารถอยู่บนบกได้นานๆ ความยาวประมาณ 7-23 เซนติเมตร
ถิ่นอาศัย, อาหาร
พบทั่วไปทุกภาคของประเทศไทย
อาหารได้แก่ ลูกปลา ลูกกุ้ง แมลง และซากสัตว์
สถานที่ชม
สวนสัตว์เชียงใหม่
ที่มา.http://www.zoothailand.org/animals/other_th.asp?id=37
ชื่อทางวิทยาศาสตร์: Anabas testudineus
ลักษณะทั่วไป
รูปร่างป้อม ลำตัวด้านข้างแบน หัวเล็ก จะงอยปากสั้นทู่ นัยน์ตาค่อนข้างเล็กอยู่ใกล้กับปลายจมูก กระดูกขอบกระพุ้งเหงือกหยักเป็นฟันเลื่อยแหลมและแข็ง ซึ่งเรียกกันทั่วไปว่า เหงือกปลาหมอ อวัยวะส่วนนี้ใช้สำหรับการเคลื่อนไหวไปบนบก ครีบหลังยาว ลำตัวมีสีน้ำตาลปนเหลือง ด้านท้องสีจะจางกว่า มีอวัยวะช่วยหายใจในปากทำใหัสามารถอยู่บนบกได้นานๆ ความยาวประมาณ 7-23 เซนติเมตร
ถิ่นอาศัย, อาหาร
พบทั่วไปทุกภาคของประเทศไทย
อาหารได้แก่ ลูกปลา ลูกกุ้ง แมลง และซากสัตว์
สถานที่ชม
สวนสัตว์เชียงใหม่
ที่มา.http://www.zoothailand.org/animals/other_th.asp?id=37
บันทึกนี้เขียนที่ GotoKnow โดย นาย ยงยูทธ อุศมา ใน กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับการประมง G.803
ไม่อนุญาตให้แสดงความเห็น
อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก