สภาวะผู้นำที่แท้ (Authentic Leadership) วันที่ ๓


ผู้นำที่แท้จะตั้งตนอยู่ในความไม่ประมาท ตื่นรู้อยู่เสมอ

วันนี้อาจารย์ได้พูดถึง Hastedly Form Networks (HFNs) เครือข่ายที่เกิดขึ้นอย่างเร่งรีบ เกิดขึ้นอย่างฉับพลันทันใด เช่น เครือข่ายในการจัดการวิกฤติน้ำท่วม ซึ่งเป็นความรู้ที่สำคัญและมีพลังมาก เราจะนำมาปรับใช้กับกระบวนการขับเคลื่อนทางสังคม ในเหตุการณ์ปกติได้อย่างไร

 ต้องศึกษาว่ามีบุคคล ผู้นำ เครือข่าย อะไรบ้างที่มาที่เกี่ยวข้อง บริบท (Context) เข้ามาเกี่ยวข้องอย่างไร <p style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt" class="MsoNormal">เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เรื่องเล่าต่างๆ </p><p> ในการถอดบทเรียนจำเป็นต้องนำเอาวิธีคิด ๔ ระดับ ของการคิดกระบวนระบบ (System Thinking) มาใช้</p><p></p><p>           อาจารย์แนะนำหนังสือ Tipping point : จุดชนวนคิด พลิกสถานการณ์ ซึ่งเป็นจุดพลิกสำคัญ (ฟางเส้นสุดท้ายที่ทำให้หลังลาหัก)</p><p>          ผู้นำที่แท้ต้องทำตัวให้น่าเชื่อถือ ใช้อำนาจปัญญา อำนาจแห่งความดี ไม่ใช้อำนาจอย่างอื่น </p><p>           ผู้นำที่แท้จะตั้งตนอยู่ในความไม่ประมาท ตื่นรู้อยู่เสมอ</p><p>                         กระบวน ๑ แบบฝึกหัดเข้ากลุ่มย่อย การเชื่อมเครือข่ายการจัดการน้ำท่วม (ใช้หลักการเชื่อมโยงเครือข่ายของวิธีคิดกระบวนระบบ  Power of the Powerless อำนาจของผู้ไม่มีอำนาจ จะปรากฏในภาวะวิกฤตเสมอ</p><p></p><p>             กระบวน ๒ จับกลุ่มย่อย แลกเปลี่ยน จุดแข็ง จุดอ่อน ของตนเองในการถอดบทเรียน สิ่งที่ต้องปรับปรุง  </p><p>          หัวใจผู้นำที่แท้ อย่าเอาแต่วิธีคิดเดิมๆ มาใช้ แต่ต้องเชื่อมั่นในศักยภาพตนเอง พึ่งพากันเอง</p><p>  CK – Create Knowledge  </p><p><div style="text-align: center"></div></p><p>พลังแห่งบริบท            </p><p>- คนไทย เมื่อเกิดวิกฤตฉับพลัน จะตื่นตัว กุลีกุจอ ช่วยคนทุกข์ พลังเมตตา            </p><p>- อัมพาตของระบบแบบเดิมๆ ของราชการ  </p><p>โครงสร้าง            </p><p>- ความสัมพันธ์ที่มีคุณภาพของแกนนำ (ไม่เป็นทางการ)</p><p>- โครงสร้างระบบโทรคมนาคมและการสื่อสาร (วิทยุชุมชน มือถือ TV IT ฯลฯ)            </p><p>- โครงสร้างระบบขนส่ง บก น้ำ อากาศ และการเข้าถึงความช่วยเหลือ            </p><p>- โครงสร้างราชการและระเบียบ            </p><p>- โครงสร้างใหม่ เช่น War room ศูนย์วัด ศูนย์โจ้โก้ ฯลฯ </p><p>Mental Model            </p><p>- ทั่วไป..........ไม่เชื่อว่าจะรุนแรง เพราะ................สึนามิ, หาดใหญ่            </p><p>- วิธีคิดและปฏิบัติของราชการที่ต้องเดินตามกฎเกณฑ์ และวิธีการแบบที่เคยทำมา และผู้นำราชการ            </p><p>- โลกทัศน์ กระบวนทัศน์ ท่าที พฤติกรรมของผู้นำตามธรรมชาติ</p><p>- การ ด้นสด (Improvise) ........อันเนื่องมาจากอยากให้คนอื่นพ้นทุกข์</p><p>บทเรียน : ความรู้เพื่อปัจจุบันและอนาคต            </p><p>- เครือข่ายความร่วมมือที่หลากหลาย วัฒนธรรมองค์กร            </p><p>- สภาวะผู้นำกับเครือข่ายที่มีพลัง            </p><p>- การไหลลื่นของข้อมูลข่าวสาร และความหมาย และภูมิปัญญาท้องถิ่น            </p><p>- การสร้างพลังที่ยั่งยืน เติบโตงอกงาม             </p><p>กระบวน ๓ เข้ากลุ่มย่อยครุ่นคิด แล้วเล่าสู่กันฟัง            </p><p>๑. เราได้ข้อคิดอะไรสำคัญๆ บ้าง ในการไปสร้างเครือข่ายที่มีพลังในจังหวัดน่าน            </p><p>๒. เราสังเกตเห็นพลังและการสนทนาในกลุ่มหรือไม่ ว่ามันได้ความรู้อะไรบ้าง ที่จะเอาไปใช้ในการทำงานต่อไป            </p><p>๓. ตนเองมี Commitment เรื่องอะไร              </p><p>กระบวน ๔ ปิดท้ายการเรียนรู้ ครุ่นคิดทบทวนไฟของตนเองอีกครั้ง อาสาสมัครประกาศดังๆ กลางที่ประชุม วรรคทองของใจ </p><p>           </p><p> โจทย์การบ้านเครือข่ายน่านคิดต่อ ชวนกันมาร่วมถอดบทเรียนการจัดการน้ำท่วมต่อให้สมบูรณ์ เขียนออกมาเป็นความรู้ เพื่อนำมาปรับใช้ในยามปกติ แล้วกลางปีหน้าอาจารย์จะมาช่วยจัดกระบวนการอีกครั้งเพื่อพัฒนาเป็นคู่มือรับภัยพิบัติต่างๆ</p><p>             กระบวนการเรียนรู้เป็นไปอย่างสนุกสนาน ได้ครุ่นคิด ได้บอกเล่า ได้รับฟังกันและกัน อย่างเป็นมิตร และที่สำคัญได้เห็นไฟอันเป็นปณิธานของกันและกัน </p><p>            ปุจฉา ทำไมนะ เวลาวิทยากรภายนอกมาจัดกระบวนการเรียนรู้ เรารู้จักเคารพกันและกัน (เคารพในความคิด และรับฟังกันและกัน) พูดคุยกันฉันท์มิตร และดูมีความสุข แต่ทำไมนะ เราคุยกันเอง กลับไม่ค่อยเคารพกันและกันเท่าไร ?  </p><p>           วิสัชนา ? ? ? ........................................... </p><p>           ส่วนตัวผมเองจะนำบทเรียนการเรียนรู้ที่ได้มาปรับใช้ในชีวิตตัวเองและการทำงานครับ รวมทั้งมุ่งมั่นในปณิธานของตนเองในการสร้างครอบครัวเรียนรู้อยู่อย่างเรียบง่ายและตั้งตนบนความไม่ประมาท ครับ</p><p></p>

หมายเลขบันทึก: 152767เขียนเมื่อ 11 ธันวาคม 2007 11:27 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 18:37 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท