Phenomenology and Sociology


Phenomenology and Sociology

Phenomenology is a 20th century philosophical way of thinking about the nature of reality which has influenced Sociology. The German Philosopher Edmund Husserl is closely linked with phenomenology.

Phenomenology argues that the only 'PHENOMENA' that we can be sure of is that we are 'conscious' thinking beings. Therefore we should study any phenomena around us in terms of the way we conscoiusly experience them. This examination should be free of preconceptions and causal ideas.

 

These ideas influenced sociologists such as Alfred Schutz (1899-1959) who thought that Sociology should look at the way individual 'construct' the social world. He tried to combine the work of Weber with that of Husserl in his book "The Phenomenology of the Social World" (1932).

หมายเลขบันทึก: 147378เขียนเมื่อ 18 พฤศจิกายน 2007 13:01 น. ()แก้ไขเมื่อ 17 มิถุนายน 2012 17:59 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (3)

ผู้ก่อตั้งของสำนักปรากฏการณ์นิยม คือ Edmund Husserl ใช่ไหมคับ และอยากถามอาจารย์ด้วยคับ เนื่อง ปรากฏการณ์นิยมมีข้อจำกัดในเรื่องของข้อมูลคับ อยากให้อาจารย์ช่วยชี้แนะหน่อยคับ เพราะกลุ่มของกระผมพยายามหาข้อมูลจากในเน็ตและได้ไปปรึกษาอาจารย์ในแผนกก็ได้คำตอบว่ามีหนังสือเกี่ยวกับปรากฏการณ์นิยม แต่เป็นภาษาอังกฤษ นั่นคือข้อจำกัดของพวกเรา

อ.ค่ะดิฉันก็เป็นหนึ่งในกลุ่มปรากฏการณ์นิยมเช่นกันค่ะ  ก็อย่างที่ทางกลุ่มได้ทำworkplanไป ก็ด้านปัญหาในกลุ่มของพวกเราก็มีปัญหากันทางด้านภาษาอังกฤษเหมือนกันค่ะ

ป.ล ทางกลุ่มก็อยากให้อ.ได้ช่วยพวกเรากันในด้านภาษาค่ะ  อ.คิดว่าไงค่ะช่วยแนะนำด้วยน่ะค่ะ (Thanks)

สังคมวิทยาและปรากฎการณ์วิทยาจะเกี่ยวข้องกับสาขาปรัชญาและการคิดในระดับสามัญสำนึกผนวกกับประสบการณ์

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท