การทำผลงานวิชาการ ตอนที่ 1


วิทยฐานะ

1.เครื่องมือที่ใช้ในการสอน                               

        เครื่องมือที่ใช้ในการสอน คือแผนการสอน วิชา............. รหัสวิชา....................ได้ดำเนินการสร้างตามขั้นตอน ดังนี้

                                1.1  ศึกษาหลักสูตร...................................

                               1.2  ศึกษาคำอธิบายรายวิชา เพื่อมากำหนดเป็นโครงการสอนโดยกำหนดออกเป็น ...............หน่วย 

                             1.3  กำหนดขอบข่ายเนื้อหา เพื่อนำมากำหนดจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมของแต่ละหน่วย                              

                             1.4  ศึกษาเอกสารตำราเกี่ยวกับ วิชางาน.......................พื่อนำเนื้อหามาประยุกต์ในแผนการสอนตามวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมที่กำหนด                 

                             1.5  กำหนดกิจกรรมและแบบฝึกหัดท้ายหน่วย                                  

                             1.6  นำไปให้ผู้ที่มีประสบการณ์ ในการสอนวิชา..........เพื่อประเมินความเหมาะสม แล้วนำมาเทียบกับเกณฑ์การประเมินของ บุญชม ศรีสะอาด  (2543 : 163)  ดังนี้      

                ค่าเฉลี่ย                                                ระดับความเหมาะสม                        4.51 5.00                                               เหมาะสมมากที่สุด                       

 3.51 4.50                                               เหมาะสมมาก                        

2.51 3.50                                              เหมาะสมปานกลาง                      

1.51 2.50                                               เหมาะสมน้อย

1.00 1.50                                               เหมาะสมน้อยที่สุด

 2.  การเก็บข้อมูล                        

การเก็บข้อมูล เป็นแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน  (แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน)  ของวิชา..........ได้ดำเนินการสร้าง ดังนี้

                         2.1  ศึกษาระเบียบการประเมินผลจากเอกสารที่เกี่ยวกับการวัดผล และประเมินผลการเรียน

                         2.2  ศึกษาวิธีการสร้างแบบทดสอบที่ดี

                         2.3  สร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน  (แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน)  ให้ครอบคลุมเนื้อหาและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 

                         2.4  นำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน  (แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน)  ให้ผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาและวัด เพื่อตรวจสอบความสอดคล้องระหว่างเนื้อหาจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมของแบบทดสอบ โดยการหาค่าดัชนีความสอดคล้อง  (IOC)  (สมนึก  ภัททิยธนี. 2544 : 221)  ดังนี้ ให้ 1  เมื่อแน่ใจว่าข้อสอบนั้นวัดได้ตามวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม ให้ 0 เมื่อไม่แน่ใจว่าข้อสอบนั้นวัดได้ตามวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม ให้ 1 ไม่แน่ใจว่าข้อสอบนั้นไม่วัดตามวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม จากนั้นนำผลการประเมินของผู้เชี่ยวชาญมาหาค่าเฉลี่ย และเทียบกับเกณฑ์ 0.501.00 หมายถึง ข้อสอบข้อนั้นสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้

                         2.5  จัดพิมพ์ เป็นฉบับทดลอง แล้วนำไปทดสอบ  (Try-out)                2.6  หาค่าอำนาจจำแนก  (Discrimination)   มีค่าตั้งแต่  .20  ถึง  1.00 

                        2.7  หาค่าความยาก  (Difficulty)  ของแบบทดสอบ

                        2.8  หาค่าความเชื่อมั่น  (Reliability)  ของแบบทดสอบทั้งฉบับ                      

หมายเลขบันทึก: 146618เขียนเมื่อ 15 พฤศจิกายน 2007 14:18 น. ()แก้ไขเมื่อ 15 มิถุนายน 2012 15:36 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

ขอขอบคุณกับการให้ความรู้  การทำผลงานทางวิชาการของครู ตอนที่ 1 เป็นอย่างสูงยิ่งสามารถนำไปปรับใช้ได้  ตอนที่ 2 และ 3  ของอาจารย์น่าจะสามารถเป็นแนวทางการเขียนรายงาน 20 -  30  หน้า  ทันก่อนส่งประเมินอาจารย์ 3  เชิงประจักษ์ ( รุ่น  2 กันยายน  50 ) อย่างแน่นอนเลยค่ะ

    ขอขอบพระคุณอีกครั้งค่ะ

           ครูกำแพงเพชร

           

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท