อบรมวิทยากร ผู้เผยแพร่หลักการคุณธรรม จริยธรรมแก่มวลชน


วิทยากรคุณธรรม

คณะอนุกรรมาธิการคุณธรรมและจริยธรรม สภานิติบัญญัติแห่งชาติ โดยคณะทำงานด้านเสริมสร้างจิตสำนึกคุณธรรมจริยธรรมแก่มวลชน จัดการอบรมวิชาการ

เรื่อง "ผู้เผยแพร่หลักการคุณธรรม จริยธรรมแก่มวลชน"

ในวันที่ 2 พฤศจิกายน 2550 ที่ผ่านมา

  <div style="text-align: center"></div><p>โดย ศาสตราจารย์กีรติ บุญเจือ ประธานคณะอนุกรรมาธิการคุณธรรมและจริยธรรมได้ให้เกียรติมาเป็นประธานเปิดงาน และเป็นวิทยากรบรรยายให้ในช่วงเช้า</p><div style="text-align: center"></div><p> ในการอบรมครั้งนี้ มีผู้เข้าร่วมการอบรมประมาณ 100 ท่าน จากแวดวงต่างๆ ทั้งภาครัฐ เอกชน และ สื่อสารมวลชน</p><div style="text-align: center"></div><p align="justify"> โดยศาสตราจารย์กีรติ เน้นย้ำว่า  ให้ผู้เข้าร่วมการอบรมสอนและเผยแพร่คุณธรรมและจริยธรรมต่อไป สำหรับผู้มาร่วมการอบรมจะต้องหาเวทีหรือหลักฐานยืนยันการนำเสนอ หรือจัดอบรมด้านคุณธรรม มาเป็นหลักฐานแก่ทางคณะอนุฯ ซึ่งจะออกใบประกาศนียบัตรรับรองการอบรมให้ต่อไป</p><p>ศาสตราจารย์กีรติ ชี้ว่า </p>ปัจจุบันมีผู้อบรมด้านนี้จำนวนมาก มีวิทยากรมาก มีสมัชชาคุณธรรมทั้ง 4 ภาค ที่มีคนตื่นตัวในด้านนี้จำนวนมาก และจะมีการร่วมเป็นสมัชชาแห่งชาติในเดือนมกราคม 2551 <h6 style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal"></h6> <p style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal">อย่างไรก็ตามยังเป็นภาวะต่างคนต่างทำกันอยู่ ขาดการประสานกัน โดยเฉพาะศาสนาต่างๆ ขาดจุดร่วมหรือคำสอนที่เป็นตัวเชื่อมในศาสนาต่างๆ ให้เกิดสำนึกร่วมกันว่าทุกศาสนามีคุณธรรม ความดีร่วมกันอยู่ จึงควรเน้น</p> <h6 style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal"></h6> <h6 style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal">Holistic approach is better for falcum of religions</h6> <h6 style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal">Religion institue is main pilar for the constitution of nation</h6> <h6 style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal"></h6> <h6 style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal"></h6> ความเป็นปึกแผ่นของชาติต้องเกิดจากทั้ง 3 สถาบันมั่นคงร่วมกัน ต้องสร้างความเข้าใจร่วมและส่งเสริมทุกศาสนา ไม่ต่างคนต่างทำ ไม่ใช่ไม่สอนโดยไม่เกี่ยวกับศาสนา แต่ต้องหาความเข้าใจร่วมของทุกศาสนา และส่งเสริมทุกศาสนา <h6 style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal">  <div style="text-align: center"></div></h6> <h6 style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal"></h6> <p style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal"></p> <p style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal"></p> <p style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal">การสอนคุณธรรมนั้นทำได้ง่าย ด้วยการเน้นการสอนทางจริยศาสตร์ (Ethics)</p> <p style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal"></p> <h6 style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal"></h6> <p style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal"></p> <p style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal">ในทางจริยศาสตร์นั้น ถือว่าอริสโตเติล นักปรัชญาชาวกรีก เป็นตัวแบบที่ให้ปรัชญาที่เป็นกลาง สนับสนุนหลักการของทุกศาสนา เน้นคุณธรรม จริยธรรม ซึ่งต้องศึกษาใน 7  ประการ ได้แก่</p> <h6 style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal"></h6> <p style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal">มิติวิทยาศาสตร์ เน้นการศึกษา วัด คำนวณ คาดเดาได้</p> <p style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal">มิติจิตวิทยา การตัดสินใจของมนุษย์ ขึ้นกับปัจจัยต่างๆ การแก้ต้องใช้จิตวิทยาแก้ไขเช่นกัน</p> <p style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal">มิติสังคม เป็นอิทธิพลภายนอก ระบบเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การศึกษา เทคโนโลยีต่างๆ เกี่ยวกับความดีและไม่ดีทั้งชาติ</p> มิติปรัชญา ต้องเข้าใจในรูปแบบปรัชญายุคต่างๆ อย่างถ่องแท้ <p style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal">มิติภูมิปัญญา ศรัทธาต่างๆ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีต่างๆ</p><p style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal">นิยาม Nomencrature ต้องชัดเจน ง่าย</p> <p style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal">ประวัติศาสตร์ ต้องศึกษาและเข้าถึงอย่างลึกซึ้ง</p> <h6 style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal"></h6> <p style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal">ดังนั้นต้อง รู้แนวความคิดหลัก ทำความเข้าใจ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในคณะทำงาน ขจัดความขัดแย้งก่อนเผยแพร่ออกสู่สังคม</p> <h6 style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal"></h6> <p style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal">หลักคำสั่งสอน ศีลธรรมของแต่ละศาสนาวิเศษสุดสำหรับผู้ที่เลือกนับถือ และศรัทธา ทำไมต้องใช้หลักปรัชญาของอริสโตเติล? ก็เพื่อหาความเป็นกลางร่วมกัน </p> <p style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal"></p> <p style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal">วิทยากรคุณธรรมต้องเข้าใจต่อกระบวนทรรศน์ของมนุษย์ ซึ่งมีหลายยุคได้แก่ </p> <p style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal"></p> <p style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal">ดึกดำบรรพ์ (Chaotic) ทำตามใจแต่ละคน ไม่มีกฎเกณฑ์ใดที่แน่นอน แต่มีผู้ยิ่งใหญ่ควบคุมอยู่  เซ่นสรวงสังเวยเพื่อให้ได้ดี เชื่อในกลุ่มเทพธรรมชาติ</p> <p style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal">กรีกโบราณ (Greek) เชื่อว่าทุกอย่างมีกฎ มีเกณฑ์ มีระบบของมัน แต่ยังเชื่อในเรื่องเบื้องบน ผู้ยิ่งใหญ่ก็คือผู้ที่รู้กฎมากที่สุด พหุเทวนิยม มีมหาเทพ</p> ปรัชญายุคกลาง (Moyen) เชื่อเรื่องกฎ ศาสนาต่างๆ  มองไปที่โลกหน้าที่ดีกว่าโลกนี้ <p style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal">นวยุค (Modern) ปัญญานิยม เชื่อมกฎต่างๆ เข้าด้วยกันอย่างเป็นวิทยาศาสตร์ ตรรกะ (logic) รวมเป็นระบบเครือข่าย (knowledge network) ความรู้เป็นพลัง เกิดสังสรรค์วิวาทะทางความรู้</p> หลังนวยุค (post modern) ความรู้มิได้อยู่แค่ตัวกฎและเหตุผลเท่านั้นแต่ยังมีส่วนของภูมิปัญญาอีกด้วย การมีองค์ความรู้ที่อยู่ในช่องว่างของ knowledge network  การศึกษาจึงต้องมุ่งเน้นไปที่คนแต่ละคน ซึ่งแตกต่างกันไป <h6 style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal"></h6>

การปรับกระบวนทรรศน์ที่ดีก็คือการให้การศึกษาที่ดี
องค์ความรู้ด้านปรัชญา กระบวนทรรศน์ที่ถูกต้อง ทำตามกระบวนทรรศน์อย่างมีคุณธรรม ความชอบธรรม เคารพสิทธิผู้อื่น แต่ละศาสนาสอนให้เป็นคนดี ล้วนมีข้อดีของตน แต่ต้องระวังต่อ
  ขยะความรู้ซึ่งเป็นสิ่งที่ต้องตระหนักอย่างยิ่ง

ในช่วงบ่าย วิทยากรอีก 3 ท่าน ได้แก่ นายรวิช ตาแก้ว, นางอุไร สัตตะบุษย์ และ ร.ต.อ.หญิงภัคสกุล นาคจู ได้กล่าวชี้การเน้นในด้านกลไกมโนธรรม ซึ่งมีผลต่อการแสดงออกและการตัดสินใจที่เป็นไปตามครรลองที่ถูกต้อง ดังภาพ

 

 

</span>

คำสำคัญ (Tags): #คุณธรรม
หมายเลขบันทึก: 145333เขียนเมื่อ 9 พฤศจิกายน 2007 20:44 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 18:32 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท