ตัวอย่าง Best Practice


การคิดวิเคราห์

Best Practiceนายสุทธิ  รู้การนา  ศึกษานิเทศก์   สพท.ชม.เขต 1 (กลุ่มสาระ  ศิลปะ) 
1.  ชื่อผลงาน        โครงการขับเคลื่อนกระบวนการคิดสู่ห้องเรียน โดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน 

2.  ผลสำเร็จ         

1.       ครูโรงเรียนแกนนำเข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 100  มีผลงานด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การคิดวิเคราะห์

                2.    นักเรียนในโรงเรียนแกนนำ ร้อยละ 100 มีทักษะในการคิดวิเคราะห์
                    สามารถนำไปใช้จริงในชีวิตประจำวัน

3.  กิจกรรม/วิธีการ/ขั้นตอนที่สำคัญ/ระยะเวลาแต่ละขั้นตอน

กิจกรรม

กลุ่มเป้าหมาย

วิธีการ/ขั้นตอน

ระยะเวลา

1.  พัฒนาตนเอง

ศึกษานิเทศก์แกนนำเขตพื้นที่การศึกษาภาคเหนือ

1.       ประชุมปฏิบัติการวิทยากรแกนนำ การคิดวิเคราะห์ 

2.       ประชุมปฏิบัติการโครงการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน ระดับภาคเหนือ โดย
ดร.โกวิทย์ ประวาลพฤกษ์

3         วัน

  

3   วัน

 

2.  ทดลองนิเทศ 
     ขยายผลแบบ
    กัลยาณมิตรโดย  
    ใช้โรงเรียน
    เป็นฐาน

1.       ..บ้านร้องขี้เหล็ก

2.       ..บ้านเชิงดอย

3.       ..บ้านม่วงโตน

4.       ..บ้านปางแดง

1.       นิเทศครูด้วยกัลยาณมิตร

2.       ขายความคิดที่แยบยล

3.       ทดลองฝึกฝนให้ชำนาญ

4.       นำไปสานต่อกับนักเรียน

5.       ชื่นชมผลงานและพัฒนา

โรงเรียนละ

1 วัน

 

3.  อบรมครูและ   
     ผู้บริหารโรงเรียน
    ต้นแบบการ  
    ขับเคลื่อนการคิด
    สู่ห้องเรียน

1.  ระดับมัธยม
     ..วัฒโนทัยพายัพ

2.  ระดับประถม
      ..บ้านลวงเหนือ

อบรมครูทุกคนในโรงเรียน

1.       สร้างความคุ้นเคยแบบกัลยาณมิตร

2.       ชวนครูคิด พาครูทำ

3.       ใช้แบบฝึกกิจกรรม
ตามขั้นตอน

..มัธยม

       1 วัน

..ประถม

       3 วัน

 

2

 

กิจกรรม

กลุ่มเป้าหมาย

วิธีการ/ขั้นตอน

ระยะเวลา

   

4.       วิเคราะห์ชิ้นงาน

5.       ฝึกวัดผลตามสภาพจริง

6.       ฝึกหามิติการประเมิน
ชิ้นงาน

7.       จัดทำเกณฑ์และทดลองการประเมินชิ้นงาน

8.       จัดทำชุดฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์ ตามกลุ่มสาระและช่วงชั้นที่รับผิดชอบ ให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ

9.       นำไปใช้จริงในห้องเรียน

10.    รายงานผลความก้าวหน้า

รายงานผล ปีละ 2 ครั้ง

 

ครั้งที่ 1 กรกฎาคม

 

ครั้งที่ 2กันยายน

4.  ขยายผลโรงเรียน
     เครือข่าย
     และรับสมัคร
     เครือข่าย
     คนสอนคิด

โรงเรียนสังกัด สพท.ชม.เขต 1 และ
โรงเรียนสังกัดอื่น

ในเขตพื้นที่ สพท.ชม.เขต 1

อบรมปฏิบัติการเหมือนโรงเรียนต้นแบบ

1  วัน

 

4.  เงื่อนไข/ข้อจำกัด
                4.1   โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการจัดทำคำอธิบายคุณภาพผู้เรียนเป็นระดับ    ตามลักษณะ            คุณภาพที่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ที่สะท้อนให้เห็นถึงการคิดและ
                        กระบวนการคิดระดับต่าง ๆ จากต่ำ ไปสู่ระดับสูง ให้เป็นที่เข้าใจตรงกันและเป็นการ                       แสดงออกของผู้เรียนที่ชัดเจนตามสภาพแนวทางของแต่ละสถานศึกษาที่แตกต่างกัน

4.2    โรงเรียนใช้ระดับคุณภาพที่จัดทำขึ้นเป็นแกนในการรายงานผลการเรียนรู้ด้านการคิดภาพรวมทั้งโรงเรียน จำแนกเป็นชั้นเรียน และรายบุคคล

4.3    โรงเรียนรายงานผลการพัฒนาปีละ 2 ครั้ง

                ครั้งที่ 1  วันที่ 31  กรกฎาคม  2550
                ครั้งที่  2  วันที่ 30  กันยายน  2550

 

3

 

5.  แผนการพัฒนากิจกรรมกิจกรรมโครงการในอนาคต
                เป็นโครงการต่อเนื่อง 5 ปี  มีการพัฒนาขยายผลโรงเรียนเครือข่ายและ
ครูเครือข่ายคนสอนคิด 
                5.1  ปีงบประมาณ 2551                     โรงเรียนเข้าร่วมโครงการ                  ร้อยละ   20 

5.2    ปีงบประมาณ 2552                     โรงเรียนเข้าร่วมโครงการ ร้อยละ   50 

5.3    ปีงบประมาณ 2553-2554          โรงเรียนเข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 100

 

6.       เอกสารประกอบ/อ้างอิง
        6.1  เอกสารปะกอบการประชุมปฏิบัติการโรงเรียนต้นแบบ
        6.2  ภาพกิจกรรมการนิเทศ การประชุมอบรม โดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน

                6.3  รายงานผลการปฏิบัติงานโรงเรียนแกนนำ

                6.4  ผลงานครู
                6.5  ผลงานนักเรียน

                 


 

 

 
  
หมายเลขบันทึก: 136224เขียนเมื่อ 8 ตุลาคม 2007 14:44 น. ()แก้ไขเมื่อ 23 มิถุนายน 2012 09:53 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

เป็นความคิด ความสามารถที่มุ่งการพัฒนาสู่ความสำเร็จที่ดี

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท