เคล็ดลับการเป็น Facilitator


เคล็ดลับการเป็น Facilitator

เคล็ดลับการเป็น Facilitator

1.  ต้องมีเวลาเงียบๆ ส่วนตัว เพื่อทบทวนกับสิ่ง/ เรื่องที่ผ่านมา

2.  อย่าเอาเรื่องงานมาปะปนกับครอบครัว

3. มองคนอื่นในแง่บวก

4.  ถ้าลูกน้องทะเลาะกันให้ทำตัวเป็นกลาง

5. จัดคนให้เหมาะสมกับงาน

6.  ทำให้คนอื่นรักเราก่อน

7.  มีการสื่อสารที่ดี

8.  ต้องรู้เรื่องและทราบเกี่ยวกับประวัติทั้งครอบครัวและหน้าที่การทำงานของบุคลากรในหน่วยงาน

ประสบการณ์

-          ศึกษาหาความรู้

-          ปรึกษาผู้อำนวยการเพื่อจัดตั้งทีม

-          จัดให้บุคลากรไปอบรม

-          มีการติดต่อ พรพ.ตลอด

-          เกิดความขัดแย้งและเริ่มกลับมาตั้งใหม่ (ไกล่เกลี่ย)

-          หัวหน้างานทุกหน่วยมีส่วนร่วมในการเป็น Facilitator

-          จัดเอกสารให้ทุกหน่วยงานมีการจัดกิจกรรมที่ทีมกำหนดโดยอาจารย์จากภายนอกมา ประเมิน

-          มีการจัดทำ CQI ให้ทุกคนมีส่วนร่วม เช่น Dx.

-          เชิญวิทยากรจาก รพ.ต่างๆ มาวิพากษ์เพื่อจะจัดทำแผนการเป็น Facilitator  ถ้าไม่มีคนช่วย/ หน่วยงานอื่นช่วยจะลำบาก

เคล็ดลับสู่ความสำเร็จ   

-หัวหน้าสอนลูกน้องโดยหน.งานทุกงาน

- มีผู้บริหารสร้างขวัญและกำลังใจที่ดี ช่วยควบคุมกำกับ เช่น การประชุมต่างๆ -          รู้จุดอ่อน จุดแข็ง

- ต้องเรียนรู้ถึงงานต่างๆ ทุกหน่วยงาน

-  มีการสื่อสารที่ดี

-  ทุกคน ทุกงานมีส่วนร่วม  

กลุ่มที่ 2  (รพ.นาดูน วาปี แกดำ)  เรื่องประสบการณ์การทำหน้าที่ผู้ประสานงานพัฒนาคุณภาพ

ปัญหา แนวทางแก้ไข
-  โรงพยาบาลนาดูน/ แกดำ  :  ผู้อำนวยการเปลี่ยนบ่อย-          ขาดความรู้ ความเข้าใจในงานพัฒนาคุณภาพ -          ขาดความต่อเนื่องในการพัฒนาคุณภาพ -          หัวหน้าฝ่ายการเป็นผู้ประสานต่อนโยบาย -          ศึกษาด้วยตนเอง (อ่านมากๆ)-          ศึกษาดูงาน, อบรม-          ฝึกปฏิบัติจริงอย่างต่อเนื่อง (PDCA, CQI)-          กำหนดเป้าหมาย/ ผู้รับผิดชอบให้ชัดเจน  เช่น ทีม Facilitator-          ผู้รับผิดชอบต้องมี Power และเวลาในการประสานงานพัฒนาคุณภาพ (Full TimeX

 สรุปเทคนิคการทำงานเป็นผู้ประสานงานพัฒนาคุณภาพสู่ความสำเร็จ

1.       มีความมุ่งมั่น

2.       มีมนุษย์สัมพันธ์ดี (กัลยาณมิตร)

3.       มีองค์ความรู้ (หมั่นศึกษา-ประยุกต์ใช้)

4.       มีความสม่ำเสมอและต่อเนื่อง

5.       มีแผนงานและเป้าหมายที่ชัดเจน

6.       สร้างพลังอำนาจในตัวเอง (power Authority)  และมีภาวะผู้นำเน้น ผู้ประสานต้องมีความรู้แน่น  ค้นคว้า สรุป อธิบายให้เข้าใจได้ ผู้ประสานต้องรู้ ยืดหยุ่น

กลุ่ม 3    กันทรวิชัย :  ประธานทีม PCT กับทีม RM คนเดียวกันมองในแง่ดี คือ การเชื่อมโยงข้อมูลระหว่าง 2 ทีม ถ้าทุกทีมรวมกันยาก กำหนดไปเลยว่าทีมไหนจะประชุมวันไหนผู้ประสานจัดเวที  : วางทีม RMไว้เลยเพราะ Risk เกี่ยวกับทุกส่วนคุณลักษณะของผู้ประสาน

1.       องค์ความรู้พร้อม

2.       คุยได้ทุกๆ วิชาชีพ (มีมนุษยสัมพันธ์ดี)

3.       ความอดทนสูง

4.       นำข้อมูลที่ได้ไปวิเคราะห์ได้ มีความคิดสร้างสรรค์ นวัตกรรมใหม่

5.       มีวิสัยทัศน์

6.       รวดเร็ว (ข้อมูลและปฏิบัติ)

7.       รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น

8.       Positive thinking

9.       ประสานงานกับ พรพ.ตลอด

กลุ่มที่  4 เทคนิคในการประสานงานที่ดีเพื่อจัดการคุณภาพในองค์กรและผ่านการรับรอง HA

เตรียมการ

-          อ่านหนังสือ

-          วางแผนกับทีม

-          จัดทีมที่สำคัญไว้ก่อนโดยเสนอผู้อำนวยการ

-          ประชุมหาส่วนขาด

-          สอบความรู้ให้ผ่านทุกคน

-          การนำเสนอให้เสนอเป็นหน่วยงาน

-          ถ้าหน่วยงานนำเสนอดีแล้วให้เสนอเป็นรายบุคคลไม่รู้คำจำกัดความ

-          จัดประชุมทำแผน

-          วิเคราะห์ทำไมไม่บรรลุเป้าหมาย

-          วิเคราะห์มาตรฐานกระตุ้นสมาชิก

-          ปรับปรุงแบบประเมินตนเองทุก 4 เดือนแรงจูงใจผลักดัน

-          บังคับ

-          เสนอข้อมูลในที่ประชุมหน่วยงานไหนส่ง/ไม่ส่ง

-          ยอมรับ ส่งงาน

-          ใครผลงานเด่นได้ขั้น

-          เยี่ยมสำรวจภายใน ทุก 4 เดือนIS ประเมิน 2 รอบ

-   ทำIS อย่างไรให้สำเร็จ   :   ดูงาน    

กลุ่ม 5   เทคนิคประสานงาน

-          การประสานงานระหว่างผู้ปฏิบัติ

-      ผู้บริหาร

เรื่องเล่าบรบือ     

-          เริ่มต้นจากการอ่านหนังสือ ทำความเข้าใจ และสอบถามผู้รู้ คือเริ่มต้นต้องมีความรู้

-          ดู Job description , Spec งานของผู้ประสานก่อน (อ่านตำรา HA ทั้งหมด, Review  งานเดิมที่เคยทำ)

-          หาคนมารับผิดชอบร่วม Team (IC, RM, ENV, ETC)  ปรึกษาผู้บริหาร

-          ร่วมหารือแต่ละทีมร่วมกำหนดหน้าที่รับผิดชอบ

-          ทำข้อตกลงร่วมกัน (Plan) เรื่องการตามงานเพื่อให้ทุกคนรู้สึกมีส่วนร่วม

-          ร่วมกำหนดหน้าที่เรา, ทีม, ผู้บริหาร

-          เมื่อทุกอย่างลงตัวชี้แจงสู่ผู้ปฏิบัติ

-          จัดทำแผนในการประสานงาน/กิจกรรมที่ต้องพัฒนาโดยต้องประเมินสถานการณือย่างต่อเนื่อง

เทคนิค ดึงรองผู้อำนวยการ, หัวหน้างานมาร่วมทีม โดย

o      ให้องค์กรแพทย์เป็นประธาน

o      ให้เภสัช, ทันตแพทย์  เป็นรองประธาน

o      สมาชิดให้หัวหน้าเลือกผู้ประสานตามผลการดำเนินงานของทีมที่เลขาแต่ละทีมทุกเดือนแต่ต้องกำหนดสิ่งที่ต้องติดตามร่วมกัน

-     กำหนดตัวชี้วัดทีม

-          กำหนดแผนร่วมกัน

-          นำผลงานเพื่อประกอบการ ประเมินความดีความชอบเคล็ดลับการประสานงาน

-  ค้นหาความไม่เข้าใจของผู้ปฏิบัติโดยัดเวที Work Shop

-  นำเสนอผลงานเพื่อฝึกคนให้กล้าพูดและคิดอย่างเป็นระบบ

-  เยี่ยมสำรวจภายในเพื่อกระตุ้น ให้กำลังใจ และประเมินผลลัพธ์งานในสถานที่จริง

-  ประเมินสภาวะด้านจิตใจให้ความสำคัญมาก ๆ

-  การทำงานเป็นทีม

คำสำคัญ (Tags): #โรงพยาบาลบรบือ
หมายเลขบันทึก: 134355เขียนเมื่อ 3 ตุลาคม 2007 09:47 น. ()แก้ไขเมื่อ 14 มิถุนายน 2012 22:07 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

สวัสดีค่ะ

แวะมาเยี่ยมชมนะคะ 

สาระเยอะมากเลยค่ะ  แต่ถ้าจัดหน้านิดนึง จะช่วยให้อ่านง่ายยิ่งขึ้นนะคะ

เขียนอีกนะคะ  รออ่านอยู่ค่ะ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท