บทคัดย่อ - วิเคราะห์ร่างรัฐธรรมนูญ ปี 50


นิธิ เอียวศรีวงศ์ และ รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ : วิเคราะห์รัฐธรรมนูญไทยที่อ่านประเทศไทยไม่ออก งานรวบรวมการศึกษาวิจัยเชิงเอกสาร มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน บทความลำดับที่ 1246

บทคัดย่อ

วิเคราะห์

ร่างรัฐธรรมนูญ ปี ๕๐ 

<p>  </p><p>วิเคราะห์รัฐธรรมนูญไทยที่อ่านประเทศไทยไม่ออก </p><p style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify" class="MsoNormal">วิเคราะห์ร่างรัฐธรรมนูญ ปี ๕๐: ฉบับขุนนางรัฐประหาร</p><p style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify" class="MsoNormal"></p><p> นิธิ เอียวศรีวงศ์ และ รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ : วิเคราะห์</p><p></p><p style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify" class="MsoNormal">รวบรวมมาจากบทความที่เผยแพร่แล้วบนเว็บประชาไทออนไลน์</p><p style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify" class="MsoNormal"></p><p> บทวิเคราะห์ร่างรัฐธรรมนูญไทยปี ๕๐ นี้ นำมาจากบทถอดเทปของประชาไทออนไลน์ซึ่งเป็นกิจกรรมทางวิชาการที่ร่วมกันจัดขึ้นโดย ภาควิชากฎหมายมหาชน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมกับ สมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย ศูนย์ข่าวอิศรา และ มูลนิธิ Friedrich Ebert Stifting จัดการอภิปรายสาธารณะทางวิชาการ โครงการวิพากษ์ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยครั้งที่ ๑ </p><p>เรื่อง ปัญหาหลักการพื้นฐานในร่างรัฐธรรมนูญฯ </p><p>ซึ่งมีวิทยากรร่วมอภิปราย ๓ ท่านคือ </p><p>นิธิ เอียวศรีวงศ์, รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ และ วรเจตน์ ภาคีรัตน์ </p><p style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify" class="MsoNormal">เฉพาะบนหน้าเว็บเพจนี้มหาวิทยาลัยเที่ยงคืนนำเสนอเฉพาะ ๒ ท่านแรก</p><p></p><p>นิธิ เอียวศรีวงศ์ นำเสนอโครงร่างดังนี้ : </p><p>การปฏิรูปการเมือง, นิยามการเมือง, Depoliticization: การทำให้ไม่เป็นการเมือง,ร่างรัฐธรรมนูญปี ๕๐ ให้ตุลาการออกหน้า,รัฐธรรมนูญที่ขาดความเชื่อมั่นในประชาชน, เสรีภาพที่เป็นหมัน, รัฐธรรมนูญประเทศไทยที่ไม่รู้จักประเทศไทย.  </p><p>รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ นำเสนอ </p><p>ลักษณะสำคัญ ๕ ประการของรัฐธรรมนูญ ๕๐ ประกอบด้วย </p><p>ประเด็นแรก เรื่องการขาดเป้าหมายในการปฏิรูปการเมืองที่ชัดเจน </p><p>ประเด็นที่สอง การยึดข้อสมมติในการร่างรัฐธรรมนูญที่ไม่สอดคล้องต้องกัน  </p><p>ประเด็นที่สาม การเขียนรัฐธรรมนูญเพื่อให้ก้าวก่ายอำนาจซึ่งกันและกัน </p><p>ประเด็นที่สี่ การเขียนรัฐธรรมนูญด้วยความหวาดกลัวพรรคการเมืองขนาดใหญ่และการผูกขาดทางการเมือง </p><p>ประเด็นที่ห้า การฟื้นคืนระบอบอำมาตยาธิปไตย</p><p>    </p><p> </p><p>โครงการก้าวสู่คริสตศตวรรษที่ ๒๑ ด้วยการทบทวนประวัติศาสตร์ที่ผ่านมา Update: 12 May 2007 Copy 2007 บทความทุกชิ้นที่นำเสนอบนเว็บไซต์นี้เป็นสมบัติสาธารณะ และขอประกาศสละลิขสิทธิ์ให้กับสังคมมหาวิทยาลัยเที่ยงคืนเปิดรับบทความทุกประเภท ที่ผู้เขียนปรารถนาจะเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน โดยบทความทุกชิ้นต้องยินดีสละลิขสิทธิ์ให้กับสังคม สนใจส่งบทความ สามารถส่งไปได้ที่ [email protected] </p><p> </p><p style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify" class="MsoNormal">โดยกรุณาใช้วิธีการ attach file H บทความลำดับที่ ๑๒๔๖ เผยแพร่ครั้งแรกบนเว็บไซต์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน ตั้งแต่วันที่ ๑๒ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๐ (May, 12, 05,.2007)R</p><p style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify" class="MsoNormal"></p> บทความเพื่อประโยชน์ทางการศึกษาข้อความที่ปรากฏบนเว็บเพจนี้ ได้มีการแก้ไขและตัดแต่งไปจากต้นฉบับบางส่วนเพื่อความเหมาะสมเป็นการเฉพาะสำหรับเว็บไซต์แห่งนี้บทความมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน ลำดับที่ ๑๒๔๖เผยแพร่บนเว็บไซต์นี้ครั้งแรกเมื่อวันที่ ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๕๐ <p style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify" class="MsoNormal">(บทความทั้งหมดยาวประมาณ ๑๑.๕ หน้ากระดาษ A4)</p><p style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify" class="MsoNormal"></p><p></p><p> ข้อมูล อ้างอิง จากมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน </p><p style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify" class="MsoNormal">http://www.midnightuniv.org/midnight2544/0009999681.html</p>

หมายเลขบันทึก: 111525เขียนเมื่อ 14 กรกฎาคม 2007 17:12 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 18:09 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)
คลไม่ฝักไฝ่ฝ่ายใด

ทำไม่ไม่เอาฉบับปี 40 กับ 50 มาเปรียบเทียบข้อดีข้อเสียละ อยากรู้

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท