การเชื่อมงานของทีมวิจัยและทีมอื่นๆ


หลายคนสงสัยว่า งานวิจัย จะไปเชื่อมกับแผนอื่น ส่วนอื่น อย่างไร

มาไขข้อข้องใจร่วมกันเลยดีกว่า......

การเชื่อมงานกับแผนส่วนต่างๆ
- แผน
KM จะช่วยติดตามประสานให้ได้เนื้อหาข้อมูล ใน เอ๊ะ1
- แผน KM จะช่วยได้ในข้อที่ 4 สร้างเวทีแลกเปลี่ยน วางคำถาม และดึงเนื้อหาออกมา และข้อ1 ช่วยมองการพัฒนา case ๆ 
-  ทีม Network จะช่วยดูเนื้อหาเอ๊ะที่ 3 ในภาพรวมและจะช่วยดูเนื้อหา แบบสอบถามร่วมกันกับ RP และ KM
- NODE สอบถามผ่านแบบสอบถาม และสัมภาษณ์เชิงลึกกับเยาวชนในพื้นที่และอบต.ในพื้นที่ 1 อบต. การเชื่อมประสานระหว่างแผนวิจัยและแผนประสานความร่วมมือ ระยะ 7 เดือนแรก (ปีโครงการ 2550)
-  ฝ่ายเครือข่ายจะต้องประสานสร้างสัมพันธ์กับ อบต. / 10 อบต. เป้าหมาย โดยใช้กระบวนการเก็บข้อมูลของฝ่ายวิจัย
-
ฝ่ายวิจัยต้องจัดเตรียมกระบวนการและข้อมูลที่ต้องการเก็บ ให้ฝ่ายเครือข่ายและ node ในการจัดการสร้างสัมพันธ์กับ อบต. ต่อไป 
-  อบต. เป้าหมายมีเกณฑ์สำคัญคือ ความสนใจงานสังคม และ รักกับ NODE (ทำงานกันได้ คุยรู้เรื่อง รู้จักกัน ประสานงานกันได้ สามารถเข้าถึงได้สะดวก)
- สท.กับฝ่ายวิจัยจะต้องคุยกันในเชิงกระบวนการประเมิน อบต. Space for Youth และ อบต.เป้าหมาย
-  เรื่องเกณฑ์การวัด และประเมินผลการดำเนินการของ อบต. Space for youth ซึ่งจะดำเนินการโดย สท. และ ทางเรา
-
กระบวนการประเมินจะดำเนินการไปพร้อมๆกัน เก็บข้อมูลขนานกัน และ มีข้อกังวลว่าการประเมินจะไม่ได้ผลจริง(เพราะหน่วยงานสนับสนุน(สท.) เป็นผู้ประเมินเอง)   พันธกิจของNODE ต่องานวิจัย
 - เก็บ รวบรวม ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล ทั้งข้อมูลเดิมและข้อมูลใหม่ ในพื้นที่อบต.ที่ NODE เลือก และกับเยาวชนทั่วไป เยาวชนที่ดำเนินงานในโครงการ ทั้งแบบสอบถามและสัมภาษณ์เชิงลึก
- ประสานข้อมูลงานวิจัย เพื่อติดตามการเก็บข้อมูลในพื้นที่ และหนุนเสริมทักษะ เนื้อหาที่ขาดร่วมกัน
คำสำคัญ (Tags): #เชื่อมแผน
หมายเลขบันทึก: 105249เขียนเมื่อ 21 มิถุนายน 2007 19:53 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2012 19:08 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท