นวตกรรม : นาฬิกาให้ท่า


อย่าคิดลึกนะ

กิจกรรม CQI ที่เกิดจากหน่วยงานผู้ป่วยในที่มีการต่อยอดอีกที

ประเด็น ผู้ป่วยช่วยเหลือตนเองได้น้อย มีอัตราการเกิดแผลกดทับสูงเกือบร้อยละ 100

เป้าหมาย ลดอัตราการเกิดแผลกดทับ ร้อยละ 1

                อัตราการป้องกันการเกิดแผลกดทับ เพิ่มระดับ degree ร้อยละ 95

การดำเนินการ ออกแบบเครื่องมือการประเมินแผลกดทับ

                       พัฒนาวัสดุเหลือใช้คือ นาฬิกา นำมาดัดแปลง บอกตำแหน่งท่า

การประเมินผล ใช้แบบประเมินแผลกดทับตามหลัก U.S. National pressure ulcer advisory panel

ผลลัพธ์ อัตราการเกิดแผลกดทับเหลือร้อยละ 0

( เนื่องจากเป็น รพช.30 เตียง สถิติผู้ป่วยช่วยเหลือตนเองได้น้อย มีเฉลี่ย 1-2 คน/ปี)

นาฬิกาให้ท่านี้ ทำจากนาฬิกาที่ชำรุด สามารถนำมาประยุกต์ได้มากท่ายิ่งขึ้น โดยเพิ่มท่าจาก 3 ท่าในตัวอย่าง เป็นท่ามากยิ่งขึ้นตามแต่ระดับความสามารถของผู้ป่วยได้ค่ะ

 

 

 

หมายเลขบันทึก: 104230เขียนเมื่อ 18 มิถุนายน 2007 10:37 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 18:05 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (4)

นวตกรรมนี้มีประโยชน์กับการพลิกตัวผู้ป่วยมาก ซึ่งภายในหอผู้ป่วยตอนนี้ มีผู้ป่วยBed sore และกำลังหาวิธีแก้ไข ดิฉันขอนำนวตกรรมนี้ไปต่อยอดองค์ความรู้ได้หรืไม่คะ ช่วยส่งเมลล์ตอบกลับด้วย ถ้าอนุญาตก็ขอขอบคุณล่วงหน้าเลยนะคะ เพราะจะเป็นประโยชน์กับผู้ป่วยเป็นอย่างมากค่ะ

สวัสดีค่ะ คุณ กัญญนิภา

- ยินดีค่ะ ถ้าจะให้ดี แจ้งที่มาที่ไปด้วยนะค่ะ อย่างน้อยก็จะได้ให้เกียรติคนคิดด้วยค่ะ

- ขอให้ผู้ป่วยสุขภาพดีไร้ ซึ่ง pressure sore ค่ะ

สวัสดีค่ะ

ดิฉันเป็นพยาบาลต้องการความรู้เกี่ยวกับการประเมินผล ใช้แบบประเมินแผลกดทับตามหลัก U.S. National pressure ulcer advisory panel และวิธีการดำเนินงานค่ะ ขอความกรุณาอธิบายให้ลึกซึ้งได้มั้ยค่ะ ขอเบอร์โทรติดต่อกลับได้มั้ยค่ะ

สวัสดีค่ะ คุณอรชร

 - แวะมาตอบ ที่นี่ แล้วนะค่ะ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท