อนุทิน 129409


อัจจิมา เล้าเจริญฤทธิกุล
เขียนเมื่อ

ใบกิจกรรมกลุ่ม

โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพนักวิจัย    หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต

คำชี้แจง หลังจากที่นำเสนอโครงร่าง IS และรับฟังคำแนะนำจากอาจารย์ที่ปรึกษาแล้ว ขอให้นักศึกษาสรุปผลการปรับแก้ไขตามประเด็นต่อไปนี้ และนำเสนอในวันสุดท้ายเพื่อสรุปประเด็นที่แก้ไขเพิ่มเติมให้ชัดเจนและถูกต้อง

หัวข้อ

รายการที่นำเสนอ (ข้อมูลเดิม

รายการที่ปรับปรุงแก้ (ข้อมูลใหม่

ข้อเสนอแนะ

๑.ชื่อเรื่อง

ศึกษาความต้องการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลวังเย็น อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม

การมีส่วนร่วมของผู้สูงอายุในการพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบลวังเย็น อำเภอเมือง  จังหวัดนครปฐม

 

 

๒. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา

องค์การบริหารส่วนตำบลยังไม่ได้ให้ความสำคัญใส่ใจต่อผู้สูงอายุเท่าที่ควร

1.การมีส่วนร่วมในการพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบลวังเย็น อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม

2. ปัจจัยที่ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบลวังเย็น อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม

๓. ปัญหาการมีส่วนร่วมของผู้สูงอายุในการพัฒนาขององค์การบริหารส่วนตำบลวังเย็น อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม

 

๓.วัตถุประสงค์

 

 

 

 

๑.เพื่อศึกษาความต้องการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลวังเย็น อำเภอเมือง ตังหวัดนครปฐม

๒. เพื่อเปรียบเทียบความต้องการพัฒนาพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ ในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบล

๑.เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนร่วมของผู้สูงอายุในการพัฒนาตำบลองค์การบริหารส่วนตำบลวังเย็น อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม

๒. เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมของผู้สูงอายุในการพัฒนาตำบลวังเย็น

อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม

 

๔. ขอบเขตการศึกษา

ในการศึกษาครั้งนี้ประชากรได้แก่ผู้มีภูมิลำเนาอยู่ในเขตพื้นที่ อบต.วังเย็น ที่มีอายุ ๖๐ ปีขึ้นไป และกำจัดขอบเขตการศึกษาเฉพาะความต้องการของผู้สูงอายุ  ในด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิต อันได้แก่ (1) การทำให้ครอบครัวอบอุ่น(2)การอยู่ในชุมชนที่เข้มแข็ง(๓)การมีความปลอดภัยในชีวิต (๔)การมีสภาพสิ่งแวดล้อมที่ดี (๕) การมีการศึกษาที่ดี (๖) มีรายได้เพียงพอต่อการยังชีพ และ (๗)มีสุขภาพอนามัยที่ดี

ด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

ประชากร คือ ผู้สูงอายุในตำบล จำนวน 355 คน  แยกเป็น  

หมู่ ๑ จำนวน ๕๑  คน

หมู่ ๒  จำนวน ๓๓ คน

หมู่ ๓   จำนวน ๔๖ คน

หมู่ ๔ จำนวน  ๑๐๐ คน

หมู่ ๕ จำนวน ๗๘ คน

หมู่ ๖  จำนวน ๔๗ คน

กลุ่มตัวอย่างคือ ตัวแทนของผู้สูงอายุในตำบล จำนวน 188 คน ซึ่งคำนวณตามสูตรทาโร่ ยามาเน่  โดยวิธีสุ่มแบบโควตา

 

 

 

ใบกิจกรรมกลุ่ม

โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพนักวิจัย    หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต

คำชี้แจง หลังจากที่นำเสนอโครงร่าง IS และรับฟังคำแนะนำจากอาจารย์ที่ปรึกษาแล้ว ขอให้นักศึกษาสรุปผลการปรับแก้ไขตามประเด็นต่อไปนี้ และนำเสนอในวันสุดท้ายเพื่อสรุปประเด็นที่แก้ไขเพิ่มเติมให้ชัดเจนและถูกต้อง

หัวข้อ

รายการที่นำเสนอ (ข้อมูลเดิม

รายการที่ปรับปรุงแก้ (ข้อมูลใหม่

ข้อเสนอแนะ

๑.ชื่อเรื่อง

ศึกษาความต้องการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลวังเย็น อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม

การมีส่วนร่วมของผู้สูงอายุในการพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบลวังเย็น อำเภอเมือง  จังหวัดนครปฐม

 

 

๒. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา

องค์การบริหารส่วนตำบลยังไม่ได้ให้ความสำคัญใส่ใจต่อผู้สูงอายุเท่าที่ควร

1.การมีส่วนร่วมในการพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบลวังเย็น อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม

2. ปัจจัยที่ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบลวังเย็น อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม

๓. ปัญหาการมีส่วนร่วมของผู้สูงอายุในการพัฒนาขององค์การบริหารส่วนตำบลวังเย็น อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม

 

๓.วัตถุประสงค์

 

 

 

 

๑.เพื่อศึกษาความต้องการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลวังเย็น อำเภอเมือง ตังหวัดนครปฐม

๒. เพื่อเปรียบเทียบความต้องการพัฒนาพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ ในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบล

๑.เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนร่วมของผู้สูงอายุในการพัฒนาตำบลองค์การบริหารส่วนตำบลวังเย็น อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม

๒. เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมของผู้สูงอายุในการพัฒนาตำบลวังเย็น

อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม

 

๔. ขอบเขตการศึกษา

ในการศึกษาครั้งนี้ประชากรได้แก่ผู้มีภูมิลำเนาอยู่ในเขตพื้นที่ อบต.วังเย็น ที่มีอายุ ๖๐ ปีขึ้นไป และกำจัดขอบเขตการศึกษาเฉพาะความต้องการของผู้สูงอายุ  ในด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิต อันได้แก่ (1) การทำให้ครอบครัวอบอุ่น(2)การอยู่ในชุมชนที่เข้มแข็ง(๓)การมีความปลอดภัยในชีวิต (๔)การมีสภาพสิ่งแวดล้อมที่ดี (๕) การมีการศึกษาที่ดี (๖) มีรายได้เพียงพอต่อการยังชีพ และ (๗)มีสุขภาพอนามัยที่ดี

ด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

ประชากร คือ ผู้สูงอายุในตำบล จำนวน 355 คน  แยกเป็น  

หมู่ ๑ จำนวน ๕๑  คน

หมู่ ๒  จำนวน ๓๓ คน

หมู่ ๓   จำนวน ๔๖ คน

หมู่ ๔ จำนวน  ๑๐๐ คน

หมู่ ๕ จำนวน ๗๘ คน

หมู่ ๖  จำนวน ๔๗ คน

กลุ่มตัวอย่างคือ ตัวแทนของผู้สูงอายุในตำบล จำนวน 188 คน ซึ่งคำนวณตามสูตรทาโร่ ยามาเน่  โดยวิธีสุ่มแบบโควตา

 

 

  



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท