โรงพยาบาลบ้านหมี่
โรงพยาบาลบ้านหมี่ โรงพยาบาลบ้านหมี่ อำเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี

พัฒนาการและเชาว์ปัญญา


Growth and Development

พัฒนาการเด็กและเชาว์ปัญญา

ความจริงของเด็กไทย

         เด็กอายุ 1-5 ปี พูดช้า ประมาณ ร้อยละ 8.3

         IQ  เด็ก อายุ 12-36 เดือน                100.5+/- 14.35

         IQ  เด็ก อายุ 3- <6 ปี                        91.1+/- 22.75

         IQ  เด็ก อายุ 6-12  ปี                         88.06+/-13.93         IQ  เด็ก อายุ 13-18 ปี                        86.72+/- 13.93งานวิจัยในไทยผู้เลี้ยงดูส่วนใหญ่จะเน้นเรื่องการเจริญเติบโตปริมาณอาหาร มากกว่า สารอาหารที่ได้รับ   พัฒนาการทางภาษา และการฝึกสุขนิสัย-          ส่วนใหญ่ไม่ศึกษาจากตำราหรือคู่มือ-          อยากให้เด็กรักเรียน เรียนเก่ง เรียนสูง เพื่อโอกาสที่ดี

-          มักฝึกเรื่องรู้จักช่วยเหลือตนเองเช่นงานบ้าน ไม่เน้นพัฒนาการด้านอื่น

ระดับสติปัญญา เด็กอายุ 6-13 ปี  (สาธารณสุข)          63% อยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างต่ำ          28% อยู่ในเกณฑ์ปกติระดับสติปัญญา เด็กอายุ 13-18 ปี          59% อยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างต่ำ          27% อยู่ในเกณฑ์ปกติ          5% อยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างสูงความจริงเกี่ยวกับออทิสติก1. ออทิสติกไม่ใช่โรคจิต แต่เป็นโรคทางสมอง     โรคของพัฒนาการ2. รักษาได้แม้ไม่หายขาด3. เด็กมีชีวิตที่ดีได้ เรียนได้ อยู่ในสังคมได้4. การช่วยเหลือต้องเริ่มแต่อายุยังน้อย (2 - 3 ปี)ล5. พ่อ แม่ เป็นบุคคลสำคัญ6. การรักษาสำคัญอยู่ที่การฝึกในชีวิตประจำวัน7. ควรพบแพทย์สม่ำเสมอ 

 โรคสมาธิสั้น  =   ความผิดปกติทางพฤติกรรมที่แสดงอาการต่อเนื่องตั้งแต่                  วัยเด็กก่อนอายุ 7 ปี

อาการประกอบด้วย 

1. สมาธิสั้น2.ซุกซนไม่อยู่นิ่ง3. หุนหันพลันแล่น

ผลกระทบ              วุ่นวาย  ไม่มีระเบียบในชีวิต   จับจด 

                                เรียนไม่จบ  ไม่มีคุณค่า   ถูกดุถูกว่าประจำ

ระบาดวิทยา

          ความชุกในประเทศไทย พบร้อยละ 5.09

            กลุ่มนักเรียนชาย ร้อยละ 7.81

            กลุ่มนักเรียนหญิง ร้อยละ 1.59

 สาเหตุ

          ความผิดปกติในการทำงานของสมองส่วนหน้า

            สมองซีกซ้ายทำงานลดลง

            พันธุกรรม

ลักษณะร่วมที่อาจเกิดขึ้น

          ปัญหาทางอารมณ์ 

           พฤติกรรมเกเร  25 - 50%   โรคซึมเศร้า  25 % ,โรควิตกกังวล  25%

           ปัญหาการเรียนรู้บกพร่อง (LD)  25 - 50%

           การใช้สารเสพติด

       
คำสำคัญ (Tags): #growth and development
หมายเลขบันทึก: 98294เขียนเมื่อ 24 พฤษภาคม 2007 14:26 น. ()แก้ไขเมื่อ 27 พฤษภาคม 2012 09:22 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท