2. ปาฐกถา อาจารย์สุริชัย หวันแก้ว (หัวใจท้องถิ่น : เจ้าเอื๊อกมาเมืองไทย)


ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศที่ยั่งยืน ต้องมีรากฐานมาจากความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับมนุษย์

วันที่ 27 กุมภาพันธ์ มีการสัมมนาพิเศษครั้งที่ 3 ของเจแปนฟาวน์เดชั่น กรุงเทพฯ ประจำปี 2550 เนื่องในโอกาสครบรอบ 120 ปี ความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างประเทศญี่ปุ่น ประเทศไทย เรื่อง ชุมชนมีชีวิตในญี่ปุ่น : จากวิถีแห่งท้องถิ่นสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

<p style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt" class="MsoNormal"><div style="text-align: center"></div></p><p style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt" class="MsoNormal"></p><p style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal" align="center">ลุงโตทานิ พี่คิโนะชิตะ กับบรรยากาศค่อนข้างจะเป็นทางการในห้องประชุม (ก่อนเริ่มสัมมนา)</p>   <div style="text-align: center"></div> <p align="center">อาจารย์สุริชัย หวันแก้ว </p><p>หลังการกล่าวเปิดสัมมนา อาจารย์สุริชัย หวันแก้ว กล่าวปาฐกถาพิเศษเรื่อง การแลกเปลี่ยนบุคคลากรสู่การทูตภาคประชาชนเพื่อส่งเสริมความสัมพันธ์ที่ยั่งยืนระหว่างประเทศไทย - ญี่ปุ่น  เน้นย้ำว่า กระแสโลกาภิวัตน์เป็นทั้งโอกาสและความเสี่ยง โอกาสที่ว่า คือโอกาสที่ชุมชนและท้องถิ่นจะได้แสดงอัตลักษณ์ของตนเองออกไป ยืนหยัดอยู่ท่ามกลางชุมชนโลกให้ได้ กระแสโลกาภิวัตน์ที่ผ่านมามักเน้นไปทางด้านเศรษฐกิจการค้า ไม่สนใจความสัมพันธ์ของผู้คน และดำเนินไปอย่างรวดเร็วจนไม่ใส่ใจความเสี่ยงด้านผลกระทบต่างๆที่อาจเกิดขึ้น  ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศที่ยั่งยืนในยุคโลกาภิวัตน์นี้ ต้องมีรากฐานมาจากความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ การหันมาสนใจในประสบการณ์ของเพื่อนร่วมโลก และสร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันระหว่างชุมชน จะช่วยให้เกิดความสมดุลสำหรับทุกฝ่าย ที่จะสามารถมีอนาคตที่พอเพียงและยั่งยืนร่วมกันได้ (อ่านรายละเอียดได้ ที่นี่) </p>

หมายเลขบันทึก: 92846เขียนเมื่อ 27 เมษายน 2007 13:47 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 17:57 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท