มรดกของซุปเปอร์โนวา


มองดาว..ไม่เห็นดาว..

ซุปเปอร์โนวา ไม่ค่อยเกิดใกล้โลกเรานัก 

ครั้งล่าสุดในดาราจักรของเรา ระเบิดขึ้นเมื่อปี 1640

ส่องแสงเจิดจ้าราวกับดาวพฤหัสบดี

และตราตรึงอยู่ในความทรงจำของ โยฮันเนส  แคปเลอร์

นักดาราศาสตร์ผู้บุกเบิก...

หากซุปเปอร์โนวาเกิดใกล้โลกไม่กี่ปีแสง

จะทำให้โลกถูกอาบด้วยรังสีมณะ

 

แต่ถึงกระนั้น มรดกของซุปเปอร์โนวาก็อยู่ในตัวเรา

ทั้งคาร์บอนในเซลล์ร่างกาย  ออกซิเจน ในอากาศ

ซิลิคอนในหิน และในชิปคอมพิวเตอร์

เหล็กในเลือดของเราและในเครื่องจักร

หรือจะว่าไปทุกธาตุที่มีในอะตอมหนักกว่าไฮโดรเจนหรือฮีเลียม

ธาตุเหล่านั้นหลอมขึ้นภายในดาวดึกดำบรรพ์

และกระจัดกระจายทั่วไปในเอกภพ

...ขณะที่ดาวระเบิดขึ้นเมื่อหลายพันล้านปีก่อน...

 

---------------------------------------------------------------------------

อ่านข้อความในนิตยสาร NGThai แล้วนึกถึงกลอนของคน2 คน

ที่ว่า..

"กว่าแสงจะเดินทางมาถึง  ดวงดาวก็ไม่ได้อยู่ตรงนั้นแล้ว" - - อาทิเช่น

กับ

"หากกวีมองเห็นรอยตำหนิของดวงจันทร์

มากกว่าความงาม - - -

เขาจะกลายเป็นนักวิทยาศาสตร์" - - - ณรงค์ พัว ประพนธ์พันธ์

 

 

หมายเหตุ ***

ภาพนิตยสารNational Geographic ฉบับ มีนาคม 2550

 

 

คำสำคัญ (Tags): #ดวงดาว#หนังสือ
หมายเลขบันทึก: 88390เขียนเมื่อ 3 เมษายน 2007 22:02 น. ()แก้ไขเมื่อ 30 มีนาคม 2012 14:59 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)
  • super nova คืออะไรครับ ดาวระเบิดเหรอครับ? ขอบคุณครับ
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท