การวิจัยด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น


การวิจัยภูมิปัญญาท้องถิ่น

ผมได้รับงานวิจัยมาชิ้นหนึ่งซึ่งเป็นหัวข้อการวิจัยเกี่ยวกับการศึกษาด้านภูมิปัญญาท้องถิ้นของจังหวัดพิษณุโลกเพื่อนำข้อมูลที่ได้ดังกล่าวมาจัดทำเป็นฐานความรู้โดยผ่านทาง Web Application การศึกษาภูมิปัญญาดังกล่าวแบ่งกลุ่มของความรู้ออกเป็น 11 ด้าน ได้แก่

1. ด้านเกษตรกรรม

2.ด้านอุตสาหกรรมและหัตถกรรม

3.ด้านแพทย์แผนไทย

4.ด้านการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

5. ด้านกองทุนและธุรกิจชุมชน

6.ด้านสวัสดิการ

7.ด้านศิลปกรรม

8.ด้านการจัดการองค์กร

9.ด้านภาษาและวรรณกรรม

10.ด้านศาสนาและประเพณี

11.ด้านการศึกษา

ผมคิดว่าถ้างานวิจัยชิ้นนี้สำเร็จน่าจะได้ฐานความรู้(Knowledge Asset) ที่มีคุณค่าชิ้นหนึ่งของบ้านเราที่น่าสนใจมากกว่านั้นคือการเชื่อมโยงฐานข้อมูลภูมิปัญญา (Wisdom Network ) ดังกล่าวไปทุกจังหวัดทั่วประเทศ เราจะได้ฐานความรู้ระดับชาติที่ถูกนำมาจัดเก็บในรูปของสื่อ Digital ซึ่งถือได้ว่าเป็นมรดกชิ้นหนึ่งของคนไทยก็ว่าได้

ธงชัย

2 เม.ย. 2550

 

หมายเลขบันทึก: 87994เขียนเมื่อ 2 เมษายน 2007 10:03 น. ()แก้ไขเมื่อ 24 มิถุนายน 2012 02:07 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท