ผลการดำเนินตามตัวชี้วัดที่ 4.2.1 ของ กพร. : มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา


1 คะแนน

ตัวชี้วัด :  4.2.1  ร้อยละของงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่ตีพิมพ์เผยแพร่
ในระดับชาติหรือระดับนานาชาติ
ต่ออาจารย์ประจำ

<p></p>

 คำชี้แจงการปฏิบัติงาน/มาตรการที่ได้ดำเนินการ:
 1.       สถาบันวิจัยและพัฒนา จัดหา ประสานงานและจัดทำฐานข้อมูลวารสารระดับชาติและระดับนานาชาติ
2.      
สถาบันวิจัยและพัฒนา มรภ. พระนครศรีอยุธยาและ มรภ. เครือข่ายภาคกลางร่วมกันจัดทำวารสารวิจัยและพัฒนาวลัยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์
 ปัจจัยสนับสนุนต่อการดำเนินงาน : 
1.       ผู้บริหารมหาวิทยาลัยให้ความสำคัญและสนับสนุนให้นักวิจัยนำผลงานวิจัยออกตีพิมพ์เผยแพร่
2.       นักวิจัยรุ่นใหม่ให้ความสำคัญกับการเผยแพร่ผลงานวิจัยเป็นอย่างมาก
3.       เกณฑ์ใหม่ในการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการของคณาจารย์ต้องมีผลงานวิจัยด้วย
 อุปสรรคต่อการดำเนินงาน :           
1.       คณาจารย์ยังขาดความมั่นใจที่จะเขียนผลงานเพื่อตีพิมพ์เผยแพร่
2.       คณาจารย์ยังไม่มีทัศนคติที่ดีในเรื่องของการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัย
3.       ภารกิจของคณาจารย์มีมากเกินไป
4.       ผู้บริหารในบางระดับมีทัศนคติว่า นักวิจัยทำผลงานวิจัยเพื่อตนเอง มิได้มองว่างานวิจัยเป็นเรื่องของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ หรือการแสวงหาองค์ความรู้ เพื่อถ่ายทอดให้กับสังคมได้รับรู้และนำผลวิจัยไปแก้ปัญหาในด้านต่างๆ
5.       มหาวิทยาลัยยังไม่ได้กำหนดอย่างชัดเจนว่างานวิจัยเป็นภาระงานของคณาจารย์เหมือนภาระงานสอน 

หลักฐานอ้างอิง : 
1.       บทความทางวิชาการของ ผศ. จินดา นัยผ่องศรี เรื่อง ชุดผ้าไทยสวยด้วยผ้ารองในตีพิมพ์ในวารสารวิจัย Texttile Journal Colour Way Vol. 12 No. 67 November – December 2006.   คลิก
2.       บันทึกข้อความและใบเสร็จรับเงินร่วมจัดทำวารสารวิจัยและพัฒนาวลัยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์  คลิก

</span></strong><p> </p><p> </p><p> </p>

หมายเลขบันทึก: 85409เขียนเมื่อ 21 มีนาคม 2007 14:59 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 17:53 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท