กลยุทธ์บันไดเก้าขั้นสู่เศรษฐกิจพอเพียง


กลยุทธ์เก้าคูณสาม

กลยุทธ์ในการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจังหวัดเพชรบูรณ์

จังหวัดเพชรบูรณ์ ได้กำหนดกลยุทธ์การขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้หลักการ  9 x 3  (ความหมาย 9 หมายถึง  รัชกาลที่ 9 , 3 หมายถึง บวร (บ้าน/ชุมชน  วัด  และราชการ) ดังนี้ 

บันไดขั้นที่ 1   การบูรณาการข้อมูลหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง

1.1 การจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง

1.2 ภารกิจ/ความรับผิดชอบของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

1.3 ตัวชี้วัดหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงของแต่ละหน่วยงาน

บันไดขั้นที่ 2   การสร้างการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของประชาชน

2.1 การสร้างองค์ความรู้

      2.1.1 เศรษฐกิจพอเพียงจังหวัดเพชรบูรณ์

     2.1.2 หลักสูตรและแบบในการขับเคลื่อน

     2.1.3 แบบประเมินครัวเรือนตามตัวชี้วัด 6 x 2 และความพอดี 5 ประการ                  

2.2 การสร้างทีมวิทยากร                            

     2.2.1 ทีมวิทยากรระดับจังหวัด                            

     2.2.2 ทีมวิทยากรระดับอำเภอ                            

     2.2.3 ทีมวิทยากรระดับตำบล                  

2.3 กระบวนการขับเคลื่อน                            

     2.3.1 การประชุมชี้แจงระดับจังหวัด                            

      2.3.2 การประชุมชี้แจงระดับอำเภอ                            

      2.3.3 การประชุมชี้แจงระดับตำบล

บันไดขั้นที่ 3   การบริหารจัดการงบประมาณ                  

3.1 บูรณาการทุน/กองทุน ภายในหมู่บ้าน/ชุมชน                  

3.2 บูรณาการจากส่วนราชการ                  

3.3 บูรณาการทุนจากภาคเอกชน/ภาคสังคม/มูลนิธิ ฯลฯ

บันไดขั้นที่ 4   การบูรณาการงานของหน่วยงาน                  

4.1 บูรณาการแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม                  

4.2 จัดทำแผนปฏิบัติการเศรษฐกิจพอเพียง                  

4.3 ปฏิบัติการตามแผนฯ

บันไดขั้นที่ 5   การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง                  

5.1 สร้างเครือข่ายการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงจังหวัดเพชรบูรณ์

5.2 ประกาศวันขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงจังหวัดเพชรบูรณ์                  

5.3 ปฏิบัติการขับเคลื่อนตามปฏิทินการดำเนินงาน

บันไดขั้นที่ 6   เป้าหมายการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงจังหวัดเพชรบูรณ์ 

6.1 อำเภอ , ตำบล (อบต.) ,หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงดีเด่น                  

6.2 เทศบาล/ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงดีเด่น                  

6.3 ครัวเรือนเศรษฐกิจพอเพียงดีเด่น

บันไดขั้นที่ 7   การประชาสัมพันธ์เผยแพร่                  

7.1 สร้างสื่อ/เครือข่ายการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วม                  

7.2 แผนการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วม                  

7.3 ปฏิบัติการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วม

บันไดขั้นที่ 8   การรายงาน/ติดตาม/ประเมินผล                  

8.1 สร้างเครือข่ายการติดตามและประเมินผล                  

8.2 ติดตามและประเมินผล                  

8.3 ศึกษา วิจัย พัฒนา/สรุปผล/ถอดบทเรียน

บันไดขั้นที่ 9   การขยายผลเศรษฐกิจพอเพียงและการสร้างความยั่งยืน                  

9.1 ขยายผลและยกระดับจาก ระยะที่ 1  สร้างความตระหนักคุณค่าวิถีพอเพียงระยะที่ 2  ขยายผลการพัฒนาสู่ความพอเพียงระยะที่ 3  สร้างคุณค่าพัฒนาสู่ความยั่งยืน                  

9.2 ยกย่อง ชมเชย ให้รางวัล                  

9.3 เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์   

ที่มา : ศูนย์ขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงจังหวัดเพชรบูรณ์

หมายเลขบันทึก: 81471เขียนเมื่อ 2 มีนาคม 2007 00:17 น. ()แก้ไขเมื่อ 19 พฤษภาคม 2012 08:29 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท