โครงสร้างข้อมูลเพื่อเรียกเก็บค่าบริการสาธารณสุข


            สถานบริการสาธารณสุขภาครัฐทุกระดับ มีระบบเวชระเบียนอิเล็กทรอนิกส์ บันทึกรายละเอียดการให้บริการและค่าใช้จ่าย โดยมีวิวัฒนาการมาตามลำดับ
            เมื่อมีระบบประกันสุขภาพ กองทุนประกันสุขภาพต่างๆ ได้ออกแบบโครงสร้างข้อมูล โดยสถานบริการจะต้องส่งรายละเอียด ไปเรียกเก็บค่าบริการ จากกองทุนประกันสุขภาพ ตามรูปแบบที่กองทุนกำหนด
1 โครงสร้างชุดข้อมูลเพื่อการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายบริการสาธารณสุข ( e-Claim ) พ.ศ.2564 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

https://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2565/E/045/T_0054.PDF

1 INS ผู้มีสิทธิการรักษาพยาบาล 
2 PAT ข้อมูลผู้ป่วยกลาง 
3 OPD การมารับบริการผู้ป่วยนอก 
4 ORF ผู้ป่วยนอกที่ต้องส่งต่อ 
5 ODX วินิจฉัยโรคผู้ป่วยนอก 
6 OOP หัตถการผู้ป่วยนอก 
7 IPD ผู้ป่วยใน 
8 IRFผู้ป่วยในที่ต้องส่งต่อ 
9 IDX วินิจฉัยโรคผู้ป่วยใน 
10 IOP หัตถการผู้ป่วยใน 
11 CHT ข้อมูลการเงิน (แบบสรุป) 
12 CHA ข้อมูลการเงิน (แบบรายละเอียด) 
13 AER อุบัติเหตุ ฉุกเฉิน และรับส่งเพื่อรักษา 
14 ADP ค่าใช้จ่ายเพิ่ม และบริการที่ยังไม่ได้จัดหมวด 
15 LVD กรณีที่ผู้ป่วยมีการลากลับบ้าน (Leave day) 
16 DRU การใช้ยา DRU
17 LABFU การตรวจทางห้องปฏิบัติการของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง


2 โครงสร้างและรูปแบบของข้อมูลผู้ป่วยนอก สวัสดิการค่ารักษาพยาบาลข้าราชการ สำนักงานสารสนเทศบริการสุขภาพ CSOP
https://ww2.chi.or.th/dataupload/Cscd/Ref/2561/โครงสร้างและรูปแบบของข้อมูลผู้ป่วยนอกสวัสดิการข้าราชการ.pdf

1 Header
2 BillTran  ค่าใช้จ่ายผู้ป่วยนอก
3 BillItems  รายละเอียดค่าใช้จ่ายผู้ป่วยนอก
4 Dispensing ใบสั่งยา
5 DispensedItem รายการยา
6 OPServices บริการผู้ป่วยนอก
7 OPDx วินิจฉัยโรคผู้ป่วยนอก

3 รูปแบบของแฟ้มข้อมูลเบิกค่ารักษาผู้ป่วยใน สำนักงานสารสนเทศบริการสุขภาพ AIPN
https://ww2.chi.or.th/dataupload/AIPN/Ref/2565/รง0626-ว6497-ลว30062565-AIPN.pdf

1 Header
2 ClaimAuth
3 IPADT ข้อมูลผู้ป่วยใน
4 IPDx วินิจฉัยโรคผู้ป่วยใน
5 IPOp หัตถการผู้ป่วยใน
6 Invoices รวมค่าใช้จ่ายผู้ป่วยใน
7 BillItems รายละเอียดค่าใช้จ่ายผู้ป่วยใน
8 CoInsurance ข้อมูลการเบิกจากสิทธิประกันสุขภาพอื่น

ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง
ข้อมูลบริการสาธารณสุขภาครัฐ
https://www.gotoknow.org/posts/717444

 

 

 

 

 

หมายเลขบันทึก: 717471เขียนเมื่อ 3 มีนาคม 2024 23:22 น. ()แก้ไขเมื่อ 3 มีนาคม 2024 23:29 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (3)

Thank you.

I found this useful for studying hospital accounting systems and gaining insights into ‘paper work’ that is done with each ‘health incident’.

Is there recording of following up (after hospital care/discharge) and invoicing for the after care? including (personnel) travel and accommodation and incidentals?

โครงสร้างข้อมูลดังกล่าว กำหนดให้สถานบริการ แจ้งเรียกเก็บเงินจากกองทุนทุกครั้งที่ให้บริการ (Hospital Based)การติดตามผลการรักษา อาจเป็นบริการผู้ป่วยนอก ที่รพ.เดิม หรือรพ.ที่อยู่ใกล้บ้าน หรือบริการเยี่ยมบ้าน ซึ่งหน่วยที่ให้สามารถเรียกเก็บเงิน (Invoice) จากกองทุนกองทุนจะจ่ายในอัตราและเงื่อนไขที่กองทุนกำหนดค่าเดินทาง ค่าที่พัก ของผู้ป่วย และญาติไม่อยู่ในระบบการเรียกเก็บ

Thank you. That’s excellent - that visiting patients out of hospitals are supported at least in funding.

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท