การวิจัยสหสัมพันธ์กับการวิจัยปัจจัย (Correlation Research and Factor Research)


ด้วยสำนักงานบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ที่ผมร่วมสอนอยู่มีนโยบายทางเลือกและเพื่อยกระดับคุณภาพการวิจัยของนักศึกษาโดยการส่งเสริมให้นักศึกษาทำวิทยานิพนธ์โดยการวิจัยสหสัมพันธ์มากขึ้น แต่ขณะเดียวกันมีนักศึกษาจะนวนไม่น้อยเข้าใจว่าการวิจัยสหสัมพันธ์ ก็คือการหาความสัมพันธ์ของตัวแปรที่ศึกษาสองตัว หรือหลายตัวที่สนใจศึกษา ซึ่งจะเป็นตัวแปรอะไรก็ได้ และได้มาอย่างไรก็ได้ ขอให้เป็นตัวแปรของตัว หรือหลายตัวที่วัดได้ 

แต่การเข้าใจเช่นนั้นหมิ่นเหม่ที่จะเข้าใจสับสนระหว่างการวิจัยสหสัมพันธ์ และการวิจัยปัจจัย เพราะการวิจัยทั้งสองวิธีเป็นการศึกษาความสัมพันธ์ของตัวแปรเหมือนกัน แต่มีจุดมุ่งหมาย และวิธีการต่างกัน จึงเขียนอธิบายไว้ดังบทเขียนสั้นๆ ที่แนบไว้ 

20240117070714.docx

หวังว่าบทเขียนสั้นๆ นี้จะช่วยให้นักศึกษา และผู้สนใจเกี่ยวกับการวิจัยสหสัมพันธ์เข้าใจการวิจัยสหสัมพันธ์ได้ดียิ่งขึ้น และถ้าท่านสนใจจะทำความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องนี้เพิ่มเติมอีก ก็สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้จากบทความที่ผมเขียนส่งไปตีพิมพ์ในวารสารสมาคมพัฒนาวิชาชีพการบริหารการศีกษาแห่งประเทศไทยได้ครับ 

สมาน อัศวภูมิ

17 มกราคม 2567

หมายเลขบันทึก: 717070เขียนเมื่อ 17 มกราคม 2024 07:12 น. ()แก้ไขเมื่อ 17 มกราคม 2024 07:17 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท