แบบประเมินPSQIในผู้สูงอายุ


การนอนเป็นหนึ่งกิจกรรมที่สำคัญมากๆสำหรับสิ่งมีชีวิต และมนุษย์เราวันนี้ดินฉันจึงขออนุญาตมานำเสนอการประเมินคุณภาพการนอนหลับ(PSQI) ในผู้สูงอายุซึ่งในครั้งนี้ดิฉันได้ทำการประเมินกับคุณย่าวัย78ปี ซึ่งการแบบประเมินและการแปลผลดิฉันขอแนบเป็นไฟล์PDF ด้านล่างนี้ค่ะ

แบบประเมินการนอนหลับPSQI  PSQI Scoring

จากผลการประเมินผ่านทั้ง 7 องค์ประกอบ พบว่าคุณย่ามีคะแนนแต่ละองค์ประกอบดังนั้น 
- องค์ประกอบที่ 1 คุณภาพการนอนเชิงอัตนัย 0 คะแนน

- องค์ประกอบที่ 2 ระยะเวลาตั้งแต่เข้านอนจนกระทั่งหลับ 1 คะแนน

- องค์ประกอบที่ 3 ระยะเวลาในการนอนหลับแต่ละคืน 0 คะแนน

- องค์ประกอบที่ 4 ประสิทธิภาพของการนอนหลับ 1 คะแนน

- องค์ประกอบที่ 5 การรบกวนการนอนหลับ 2 คะแนน

- องค์ประกอบที่ 6 การใช้ยานอนหลับ เพื่อช่วยในการนอนหลับ 0 คะแนน

- องค์ประกอบที่ 7 ผลกระทบต่อการทำกิจกรรมในเวลากลางคืน 1 คะแนน

จึงได้ออกมาเป็น Global PSQI Scoreที่ 4 คะแนน สามารถประเมินออกมาได้ว่าคุณย่ามีคุณภาพการหลับดี


 

จากการประเมินที่กล่าวมา ดิฉันจึงได้self-reflection ออกมาดังนี้

Spotting : ดิฉันคิดว่าการสัมภาษณ์ผู้สูงอายุมีความยากตรงที่ความทรงจำของท่านอาจจะจำได้บ้าง และตอบคำถามในบางเรื่องไม่ได้บ้าง แต่ดิฉันสามารถใช้คำถามที่ผู้สูงอายุสามารถนึกภาพตามได้และเข้าใจ และถามเพิ่มเติมจากผู้ดูแล เพื่อให้ได้ข้อมูลที่แม่นยำที่สุด

  Explain : จากการประเมินผ่านการสัมภาษณ์ดิฉันมองว่านักกิจกรรมบำบัดมีบทบาทสำคัญเป็นอย่างยิ่งในเรื่องการPromote คุณภาพการนอน ซึ่งมักจะมีปัญหาในผู้สูงอายุ บางท่านอาจจะไม่ได้สังเกตตนเองว่ามีอาการ หรือพฤติกรรมที่ทำให้คุณภาพการนอนลดลง เมื่อนักกิจกรรมบำบัดสอบถามจึงได้เป็นการทบทวนและสังเกตตนเองของผู้สูงอายุ และเมื่อท่านทราบปัญหา นักกิจกรรมบำบัดสามารถแนะนำวิธีการแก้ไขปัญหาดังกล่าวได้อย่างตรงจุด ซึ่งดิฉันได้ให้คำแนะนำกับคุณย่าไปในเรื่องของการนอนกลางวัน เพราะท่านมักนอนกลางวันนานทำให้เกิดactivityน้อย จึงทำให้การทำกิจกรรมอื่นๆมีความล้าง่าย หมดแรงไว ไม่ค่อยอยากทำต่อ จึงแนะนำให้ดูทีวีไปด้วยและออกกำลังกายเบาๆระหว่างวันไปด้วย 

Appreciate : รู้สึกว่าในการสัมภาษณ์ครั้งนี้แม้อาจจะมีอุปสรรค์ในการคิดคำพูดเพื่ออธิบายคำถามให้ท่านเข้าใจบ้าง แต่ก็รู้สึกว่าตนเองทำได้ดี และเข้าใจการใช้แบบประเมินPSQI 


 

คำสำคัญ (Tags): #การนอน#Rest&Sleep#PSQI
หมายเลขบันทึก: 705834เขียนเมื่อ 22 สิงหาคม 2022 23:59 น. ()แก้ไขเมื่อ 22 สิงหาคม 2022 23:59 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

This assessment (PSQI –what does it stand for?) appears to be ‘very subjective’ (answers by the ‘subject’) and depends on (the subject’s) pessimism or optimism.

Has a simple (and these days ‘cheap’) sleep tracking device (like a smart watch or a smart wrist band) been considered? The devices can give useful data like ‘duration of deep sleep’ (which is a good indicator of ‘good sleep’). Together with a simple note by the subject on the feeling after waking each morning, can provide a fair correlation of sleep + well-being.

[NB. A quick search with “smart wrist band” shows prices range from as low as $1]

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท