ซ้อนกาย-สับกาย และพิศดารกาย ซ้อนสับทับทวี


             เมื่อฝึกพิศดารกายจนสุดหยาบสุดละเอียดแล้ว ก็ให้ฝึกซ้อนกายต่อไป เพื่อเป็นพ้นฐานสำคัญของการเจริญวิชชาที่ละเอียดๆ ได้ดียิ่งขึ้น ก่อนอื่น ให้รวมใจของทุกกายให้อยู่ ณ ศูนย์กลางกายพระอรหัตองค์ที่ละเอียดที่สุ ดแล้วให้เอากายที่ละเอียดที่สุดหรือใหญ่ที่สุดไว้ข้างใน ซ้อนเข้าไปในกายที่ละเอียดรองลงมา หรือที่หยาบกว่า เล็กว่า ซึงเอาไว้ข้างนอก เป้นต้นว่า เอากายพระอรหัตสุดละเอียด ซึ่งเอาไว้ข้าใน ซ้อนเข้าไปในกายพระอรหัตที่หยาบกว่า ซึงเอาไว้ข้างนอก แล้วก็เอากายพระอรหัตหยาบซ้อนเข้าไปในกายพระอนาคามีละเอยดและกายพระอนาคามีหยาบ แล้วเอทากายพระอนาคามีหยาบซ้อนเข้าไปในกาย พระสกิทาคามีละเอียดและกายพระสกิทาคามีหาบ แล้วเอากายที่ละเอียดซ้อนเข้าไปในกาย พระสกิทาคามีละเอียด และกายพระสกิทาคามีหยาบ แล้วเอากายทีละเอียดซ้อนเข้าไปในกายที่หยาบกว่าไปเรื่อง จนถึงกายมนุษย์หยาบ โดยให้ศุนย์กลางกายและดวงธรรมของทุกกายตรงกันหมดเป็นจุดเดียวกัน นี้เรียกว่า ซ้อนกาย

           แล้วที่นี้ ให้เอากายหยาบ คือเร่ิมตั้งแต่กายมนุษย์หยาบ ซึ่งเอาไว้ข้าใน ซ้อนเข้าไป ในกายที่ละเอียดกว่า คือ กายมนุษย์ละอียด ซึ่งเอาไว้ข้างนอก แล้วก็เอากายมนุษย์ละเอียดซ้อนเข้าไปในกายทิพย์หยาบกายทิพย์ละเอียด เป้นการเอากายเล็กซ้อนกลับเข้าไปในกายใหญ่กว่าเรื่อยๆ เข้าไปจนถึงกายพระอรหัตละเอียด นี้เรียกว่า สับกาย

          ที่นี้ ถ้าจะให้ดีย่ิงขั้นไปอีก ก็ให้พิสดารกายจนสุดหยาบสุดละเอียดเสียก่อน แล้ว จึงฦซ้อนกายสุดละเอียดในขณะที่พิสดารกายลงมาจนถึงกายสุดหยาบ แล้วจึงสับกายสุดหยาบในขณะที่พิสดารกายจึ้นไปจนถึงกายสุดละเอียด เรียกว่า ซ้อนสับทับทวี โดยให้ศูนย์กลางกายและดวงธรรมของทุกกายตรงกันหมดเป้นจุดเดียวกั นี้เรียกว่า ซ้อนกาย 

          แล้วที่นี้ให้เอากายหยาบ คือเร่ิมตั้งแต่กายมนุษย์หยาบ ซึ่งเอารไว้ข้าใน ซ้อนเข้าไปในการกายละเอียดดว่า คือกายมนุษย์ละเอียด เป็นกายเอากายเล็กซ้อนกลับเขาไปในกายใหญ่กว่าเรื่อย ๆเข้าไปจนถึงกายพระอรหัตละเอียด นี้เรียกว่า สับกาย

          ที่นี้ ถ้าจะให้ดีย่ิงขึ้นไปอีก ก็ให้พิสดารกายจนุดหยาบสุดละเอียดเสยก่อน แล้ว จึงซ้อนกายสุดละเอียดในขณะที่พิสดารกายลงมาจนถึงกายสุดหยาบ แล้วจึงสับกายสุดหยาบในขณะที่พิสดารกายขึ้นไปจนถึงกายสุดละเอียด เรียกว่ าซ้อนสับทับทวี โดยวิธีนี้ จะทำให้ทั้งกายและดวงธรรมของกายสุดหยาบสุดละเอียดใสสะอาดบริสุทธิ์ดี และมีสมาธิที่มั่นคง เป็นทางเจริญวิชชาได้อย่างกว้างขวางไม่มีประมาณ.. บางส่วนจาก "หลักและวิธีเจริญสมถะและวิปัสสนากัมมัฎฐานเบื่องต้น ถึงธรรมกาย" 

          

หมายเลขบันทึก: 646934เขียนเมื่อ 4 พฤษภาคม 2018 08:25 น. ()แก้ไขเมื่อ 4 พฤษภาคม 2018 08:25 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท