สติปัฎฐาน ๔ (ตอนที่ ๑)


          - ความหมายของสติปัฎฐาน ๔ และ อานิสงส์ 

            สติปัฎฐาน ๔ คื อธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งสติ ๔ ประการ ที่สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสแก่ภิกษุทั้งหลาย ในขณะที่เดส็จประทับอยุ่ในกัมมาสทัมมนิคม กุรุชนบท ซึงพอสรุปได้ไังนี้

           สติปัฎฐาน เป็น "เอกายนมรรค" คือ เป็นทางไปทางเดียว เฉาพะบุคคล (คนๆ เดียวเท่านั้นป เพื่อให้ได้รับอานิสงส์ ๕ ประการ (ถึงมรรคผลนิพพาน) คือ

           สตฺตานํ วิสุทฺธยา เืพ่อความบริสุทธ์แห่งสัตว์ทั้่งหลาย 

           โสกปริเทวาน์ อตฺถงฺคมาย เพื่อความดับสูญแห่งทุกขืและโทมนัส

           ทุกฺขโทมนสฺสานฺ อตฺถงฺคมาย เืพ่อความดับสูญแห่งทุกข์และโทมนัส

          ญายสฺส อธิคมาย เพื่อบรรลุธรรมที่ควรรุ้ 

          นิพฺพานสฺส สจฺฉิริยาย เพื่อทำนิพพานให้แจ้ง

         - ธรรมที่พึงถือเป็นหลักปฎิบัติ และธรรมที่พึงนำออก ของผุ้บำเพ็ยติปัฎฐาน ธรรม ๒ ประการนี้ าสำคัญมาแก่ผุ้บำเพ็ยสติปัฎฐาน ๔ จะละท้ิงเสียมิได้ ถ้าละทิ้ง ก็เสียกมัมัฎฐาน คือ 

         สัปโยธรรม คือธรรมที่ผุ้บำเพ็ยสติปัฎฐานจะพึงถือเป็นหลักปฏิบัติได้แก่ อาตาปี คือ มีความเพียรเผากิเลสให้เร่าร้อน ไม่เกี่ยจคร้านไม่ทำย่อหย่อนไม่ทำๆ หยุดๆ เหมือนกิ้งก่า, สัมปชาโน คือ มีความรุ้ตัว ตื่นตัว พร้อมอยู่เสมอ ไม่เผลอตัวตกอยู่ในอำนาจของกิเลสนิวรณ์ ได้แก่ ไม่ง่วง ไม่หลับใน ไม่ฟุ้งซ่า่น ไปนอกเรื่องพระกัมมัฎฐาน เป็นต้น, สติมา คื อมีสติ มีความระลึกำหนดได้ ตามเห้ฯอารมณ์ ือ กายในกาย เวทนาในเวทนา จิตในจิต และธรรมในธรรม ทั้ง ณ ภายในและทั้ง ณภายนอก ได้อยุ่เสมอ ไม่ปล่อยให้จิตไปยึดอารมณ์อื่น 

         ปหานงคธรรม คือ ธรรมที่ผุ้บำเพ็ยสติปัฎฐานควรนำออำไปได้แก่ อภิชฌา คือ ความยินดี ได้แก่ ความโลภอยากได้ ยินดี พอใจ ติดอยู่ อาลัยอยู่ ในรูป เสียง กลิ่น รส โผฎฐัพพะ, โทมนัส คือ ความยินร้าย ได้แก่ พยาบาทนิวรณ์ คือ ความไม่ยินดี ในการประกอบกัมมัฎฐาน เมื่อว่าโดยละเอดียดก็คื อนิวรณ์ ๕ ที่ควรนำออก

         - จำแนกสติปัฎฐาน ๔ และเหตุที่จำแนก สติปัฎฐาน จำแนกดดยอารมร์ป็น ๔ คือ 

           กายานุปัสสนาสติปัฎฐาน สติกำหนดพิจารณาเห็นกายในกาย

           เวทนานุปัสสนาสติปัฎฐาน สติกำหนดพิจารณาเห้นเวทนาในเวทนา

           จิตตานุปัสสนาสติปัฎฐาน สติกำหนดพิจารณาเห้ฯจิตในจิต

          ธรรมานุปัสสนาสติปัฎฐานใน สติกำหนดพิจารณาเห้ฯธรรมในธรรม

          เหตุที่ำจแนกเป็น ๔ เพาระ จริต คือความประพฤติเป็นอาจิณ เหมือนความประพฤติชนิดที่เป็นปกติของคนในโลก เม่อรวมเข้ามี ๔ จึงจำแนกสติปัฎฐานเป็น ๔ เพื่อให้สม หรือเป็นคุ่ปรับกับจริต นั้นๆ 

          ตัณหาจริตอย่างอ่น คื อเป้ฯผุ้ติกาย มุ่งกายเป็นใหญ่ มักรักสวยรังาม อันเป็นไปตามสมัยนิยม แต่เปลี่ยนแปลง่าย เมื่อเขานิยมกันอย่างไร ก็เปลี่ยนไปอย่างนั้น เป็นคู่ปรับกับ กายานุปัสสนา 

          ตัณหาจริตอย่างแรงกล้า คื อเป็นติดเวทนา มุ่งสุขเวทนา เป้นใหญ่ มักพอใจแต่ในความสะดวงสบายอย่างเดียว เปลี่ยนแปลงยาก เพราะมักถือเาอตามความชอบของตน เป็นคู่ปรับกับ เวทนานุปัสสนาสติปัฎฐาน

          ทิฎฐิจริตอย่างอ่อน คื อเป็นผุ้ติดจิต มุ่งจิตเป็นหใย๋ มักเหนว่าจิตเท่านั้นเป็นส่ิงสำคัญถ้าจิตไม่ถูกรบกวนให้เดือดร้อนขุ่นมัว ก็เป็นที่พอใจ เป็นคุ่ปรับกับ จิตตานุปัสสนา 

          ทิฎฐิจริตอย่างแรงกล้า คือ เป็นผุ้ติดธรรมคืออารมณ์ที่เกิดกับใจ หนักอยุ่ในะรรม มักเห็นว่าธรรมที่เกิดกับจิตเป็นสิ่งสำคัญมักหารเรื่องที่ชอบมาให้จิตนึก เป็นคู่ปรับกับ ธรรมมานุปัสสนา

         

หมายเลขบันทึก: 646776เขียนเมื่อ 28 เมษายน 2018 08:10 น. ()แก้ไขเมื่อ 28 เมษายน 2018 08:10 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท