KM _facilitator: Note taker


วันที่ 31 มกราคม 2560

ทีมเรา อุบล จ๋วงพานิช เรวัฒน์ เอกวุฒินันท์และ ถาวร ภาวงศ์

เราจัดฐานการเป็นผู้ถอดบทเรียน

ผู้เข้าอบรม 6 กลุ่มเวียนเข้ามาเรียนรู้กับเรา

เราออกแบบให้น้องสองคน เล่าประสบการณ์การถอดบทเรียน ใครๆก็ทำได้ ง่ายจัง

ประเด็น การเตรียมตัว ขั้นตอนการถอดบทเรียน และเขียนหรือถอดบทเรียน

BAR ก่อน


เราเป็นวิทยากรกระบวนการ เล่าขั้นตอนการเรียนรู้กลุ่มละ 45 นาที



คุณเรและคุณอุ้ม เล่าเรื่อง คุยกันไปมา 15 นาที


ถอดบทเรียน

คุณเร สรุปว่า สำเร็จไปด้วยดี สำหรับ success story การถอดบทเรียน และการเป็นคุณลิขิต(note taker) โจทย์ของผู้จัดคือ ถ้าจะถอดบทเรียนให้สำเร็จจะต้องเตรียมตัวอย่างไร มีเทคนิคอย่างไร และจะสรุปบทเรียนเขียนเป็นรายงานอย่างไร โดยเน้นที่ Tacit Knowledge แม้จะต้องเล่าซ้ำๆ ให้ฟังทั้งหกกลุ่ม เหนื่อย แต่ดีใจสำหรับบทเรียนที่เล่าจุดประกายให้คนหันมาสนใจการถอดบทเรียน

# ขอบคุณพี่อุ้มที่มาช่วยแบ่งปันประสบการณ์

# พี่แก้ว อุบลที่ให้โอกาส





และ AAR

จากนั้นให้แต่ละคน ลองถอดบทเรียนในกระดาษ เอ 4 ในประเด็นใด ประเด็นหนึ่ง

จบงาน อย่างน้อยสมาชิกรู้สึกดี ร้ชอบการเขียน และรู้ว่ามีประโยชน์



ท่านรองคณบดี รศ นพ บัญฑิต มาให้กำลังใจ


ผศ ดร ปิยธิดา ผู้ช่วยรองคณบดี แม่งานมาเติมพลังให้ทีมค่ะ

สรุป

การถอดบทเรียน ไม่ยากอย่างที่คิด คุณเรวัฒน์และคุณถาวร มาเล่าให้ฟัง

ถ้าเรารักที่จะเขียน ใครๆก็ทำได้ค่ะ

แก้ว

คำสำคัญ (Tags): #km#facilitator#note taker
หมายเลขบันทึก: 622684เขียนเมื่อ 5 กุมภาพันธ์ 2017 06:47 น. ()แก้ไขเมื่อ 5 กุมภาพันธ์ 2017 06:58 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

จัดเก้าอี้พอดี

ให้เขียนการ์ดตามประเด็น ข้อจำกัด คนฟังอาจสรุปเป็น key word ยาก เลยเขียนกันยาวในโพสอิด

บางคนเขียนตามคนเล่าไปเลย

ทำให้ข้อมูลไม่ผ่านการถอดบทเรียนในภาพรวม

แต่พอไหว

เราควรจัดสถานที่แบบใหม่ อาจจัดให้ยืนรองโตีะ แต่ละประเด็น

เขียนแปะไว้ที่โต๊ะ แล้วหมุน

จึงให้ถอดบทเรียนแต่ละประเด็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท