methology ในวิชากฎหมายและนโยบายโทรคมนาคม


 สรุปการเรียนการสอนของอาจารย์แหววเมื่อวันที่ี่ 20 November 2006

 

สิ่งที่อาจารย์พยายามบอกนักศึกษานวัตกรรมคือต้องการให้นักศึกษารู้จักคิดและใช้กฎหมายเป็น

โดยมีหลักคิดดังนี้ 

 

Thinking -- Outline in Telecom Law and Policy TT735

1. What is the law?

2. How are Thai law on Telecom Affairs in Thailand and World Community?

3. How are Telecom Business Situations concerning Thailand?

4. How to manage Telecom Business by Law and Policy? 

How to learn TT735 in this term?

 1.Adaptation and Assimilation  การเอาแนวคิดนิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ ไปประยุกต์กับเทคโนโลยีโทรคมนาคม ส่วนนโยบายนั้นต้องเป็นไปตามกฎหมายที่ออกมา

2. Analysis วิเคราะห์ ว่าความถูกต้องอยู่ที่ไหน

3. Synthesis สังเคราะห์ ถ้าผิด ทำยังไงให้ถูก หรือถ้าทำถูกทำอย่างไรให้ถูกต้องยิ่งขึ้น

4. Manifestation แสดงอาการโต้แย้ง  

 

Methodology ต้องดูว่า

1. สถานการณ์ด้านข้อเท็จจริง

 ดูว่าข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นอยู่ที่ไหน ยกตัวอย่างเรื่องของบริษัท แอมเพิลริช อินเวสเมนต์จำกัด

 

2.สถานการณ์ด้านข้อกฎหมาย

 สิ่งที่นักศึกษาจะต้องฝึก และแยกแยะให้ถูกต้องว่า what is social fact? and What is legal fact?

สิ่งที่เราจะต้องเรียนกัน

1. Introduction บทนำ แนวคิดพื้นฐาน ในเรื่องเทคโนโลยี

ข้อเท็จจริงด้านเทเลคอมที่เด่น ๆ ที่จำเป็นที่จะต้องออกกฎหมายเทคโนโลยี

-ตลาดเสรี

-Interconnection charge

กฎหมายที่จะต้องศึกษา

ระดับใด พระราชบัญญัติ นโยบาย

2. Source of International Law and Policy

- International Law and policy

unwritten law

International Customary law

General Principles of Law

written law

Vienna Convention of the law of Treties 1969 

-State Law Municipal Law National Law and Policy

--Thailand

การจัดการคลื่นความถี่ี่

     -ของใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ อย่างไร

๑.พรบ.โทรเลข และโทรศัพท์์ พ.ศ.๒๔๗๗

     มาตรา ๕ รัฐบาลทรงไว้ซึ่งอำนาจสิทธิขาดที่จะตั้งบำรุงและทำการโทรเลข และโทรศัพท์ภายในราชอาณาจักรสยาม

อำนาจนี้ท่านมอบให้ไว้แก่กรมไปรษณีย์โทรเลข

"รัฐบาล" หมายถึงใคร 

(กสท. นอกประเทศ รวมถึงโทรศัพท์ ไม่ใช้สายทั้งหมด

ทศท. ทำโทรศัพท์ในประเทศ และเป็นโทรศัพท์มีสาย)

๒. พรบ.องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๔๙๗

มาตรา ๖ ให้จัดตั้งองค์การขึ้นองค์การหนึ่งเรียนกว่า องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดดำเนินการและนำมาซึ่ง ความเจริญของกิจการโทรศัพท์

เป็นกฎหมายเพื่อก่อตั้งองค์กร ดังนั้นเขาไม่ต้องจดทะเบียนนิติบุคคล เกิดในกฎหมายเอง 

ม.๗ ให้องค์การโทรศัพท์เป็นนิติบุคคล 

 

การจัดการคลื่นความถี่ที่ให้รัฐเป็นคนถือครอง กับให้ประชาชนเป็นคนถือครอง หน่วยงานที่ทำหน้าที่จัดสรรคลื่นความถี่ คือ กทช. 

๓.พรบ.การสื่อสารแห่งประเทศไทย พ.ศ.๒๕๑๙

๔.พรบ.พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พ.ศ. ๒๕๓๔

กฎหมายจัดตั้ง เนคเทค ตั้งสำนักงาน

๕.รธน. แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๔๐ ในมาตรา ๔๐

๖.พรบ.องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ พ.ศ. ๒๕๔๒

จัดตั้งกทช. 

การจัดการธุรกิจเกี่ยวกับคลื่นความถี่

พรบ.ประกอบกิจการโทรคมนาคม ๒๕๔๔

กำหนดอำนาจหน้าที่ ดูว่าอนุญาตได้หรือไม่ มีใบอนุญาตกี่ประเภท 

ความร่วมมือระหว่างประเทศในการจัดการคลื่นความถี่

ถ้าต้องการเชื่อมต่อคลื่นความถี่ เป็นองค์การระหว่างประเทศ กำหนดหน้าที่ของรัฐบาลไทยต่อองค์การระหว่างประเทศ 

การพัฒนาสังคมโดยโทรคมนาคม

Universal Access มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๖ เรื่องโครงการพัฒนาเด็กไทยด้วย ICT  

กทช.ต้องไปในที่ที่ธุรกันดารมากที่สุด 

--Foreign Country กฎหมายเทเลคอมของต่างประเทศ เช่นออสเตรเลีย รัฐบาลมีนโยบายลดต้นทุนบางส่วนให้กับธุรกิจเทเลคอม คนก็สนใจอยากลงทุนในธุรกิจนี้ ดีกว่าการกำหนดมาตรการเรื่องภาษีซ้อน เพราะเรื่องนี้ต้อง มีรายได้เข้ามาก่อน

--ตลาดเปิดที่ใดบ้าง 

3. Subjects of Law and Policy

State Own

interstat organ

un

itu

wto

State Organs

Thailand

People Own

Private Organs

Cats, TOT

Transnational Organ ดูองค์ประกอบไทย องค์ประกอบต่างด้าวของแต่ละองค์กร

Shin Corp

Amplerich investment

กุหลาบแก้ว

Standard Chartered Bank

International Engineering (IEC)

แรงงานพม่า 

คำสำคัญ (Tags): #ta#it-law
หมายเลขบันทึก: 61366เขียนเมื่อ 20 พฤศจิกายน 2006 19:04 น. ()แก้ไขเมื่อ 2 พฤษภาคม 2012 17:36 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท