A Little Dirty Dot


A Little Dirty Dot


I was writing this while waiting to gain access to the Australian Bureau of Statistics (ABS) Census website. Census is a country's profile data collection exercise. Census data represents the country's demographic needs and distributions. Census data is used for foreward planning of facilities and infrastructures --to serve people's needs in various areas so that standard of living and opportunities for further national development can be maintained or advanced. This Australian census is the first time on electronic media because of the costs of collecting data on paper are very high.


As I continued in the morning after the census night -that ABS census website went down due hackers attacks and traffic congestion-, I see a little dot on my (24 inch) monitor. A blip in a few millions pixels, an insignificant dot, a dirty mark on screen,...


A snippet from my request to the Royal Society for a revision of RSTD:


===
4) PHINTHU (-ฺ ; in Romanized Pali: BINDU)

According to 'การบอกคำอ่านมีหลักเกณฑ์ดังนี้' in คำชี้แจงหลักการจัดทำและวิธีใช้พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔

... ๔. คำอ่านที่มีเครื่องหมายพินทุจุดไว้ข้างใต้ตัวอักษร มีความหมายดังนี้

ก. ตัวอักษรนั้นเป็นอักษรนำและไม่อ่านออกเสียง ได้แก่ ตัว ห ใช้พินทุจุดไว้ข้างใต้ตัว
ห เพื่อไม่ให้อ่านเป็นอย่างอื่นซึ่งมีความหมายต่างกัน เช่น เหลา [เหฺลา] เหย [เหฺย] แหงน [แหฺงน]

ข. ตัวอักษรนั้นเป็นอักษรควบกล้ำซึ่งในภาษาไทยมี ๓ ตัว คือ ร ล ว ใช้พินทุจุดใต้
พยัญชนะตัวหน้า เพื่อให้อ่านพยัญชนะตัวหน้า ๒ ตัวควบกัน เช่น ไพร [ไพฺร] ปลอบ [ปฺลอบ] กว่า
[กฺว่า]...


From RSTD:
เหย|เหฺย||ว.|เบ้ (ใช้แก่หน้า).
ไพร|ไพฺร||น.|ป่า; ขอบ, ริม, เรียกตอกเส้นกลมๆ ที่อยู่ใต้ขอบกระบุงกระจาดเป็นต้น ว่า ตอกไพร.
Phinthu is used in accord with the guide above.

โสดม|สรรเสริญ, ชมเชย. (ส. โสฺตม; ป. โถม).
อิสริยะ|ความเป็นใหญ่, ความเป็นเจ้า, ความยิ่งใหญ่. (ป. อิสฺสริย; ส. ไอศฺวรฺย).
โสดาปัตติมรรค|ทางปฏิบัติที่ให้สำเร็จเป็นพระโสดาบัน. (ป. โสตาปตฺติมคฺค; ส. โสฺรตสฺ + อาปตฺติ + มารฺค).

Phinthu is used to denote 'character pair' (สฺส, ตฺต, คฺค,...) in Pali : อิสฺสริย = อิสฺส ริ ย (อิสสะ ริ ยะ) and โสตาปตฺติมคฺค = โส ตา ปตฺติ มคฺค (โส ตา ปัตติ มัคคะ). But โถม = โถ ม (โถ มะ) because ถม is not a character pair, so phinthu is not used).

Phinthu is used similarly in Sanskrit reading : โสฺตม = โสต ม (โสดตะ มะ), ไอศฺวรฺย = ไอ ศฺว รฺย (ไอ ศะวะ รัยยะ), But the role of phinthu is not cleared in โสฺรตสฺ + อาปตฺติ + มารฺค because โสฺรตสฺ has a phinthu under the last -สฺ where it cannot be a character pair.

ดำแคง|เลื่องลือ, ระบือไป, ดังสนั่น, เช่น …รุกขผกา… เซาะธารดำแคงเสียง…(อนิรุทธ์). (ข. แถฺกง)
ทโมน|ใหญ่และมีกำลังมาก (มักใช้แก่สัตว์ตัวผู้ที่เป็นจ่าฝูง) เช่น ลิงทโมน. (ข. โฌฺมล ว่า ตัวผู้).
Phinthu is used so that แถฺกง is read ถะแกง and โฌฺมล is read ชะโมล. Here character pairs (ถฺก, ฌฺม) are quite different from the pair concept for Thai and Pali (and Sanskrit?). Phinthu is used as if instead of schwa or soft-short ะ.


From examples above, it is clear that the use of phinthu needs clarification - in particular to explain reading of words from other languages.
===

From https://th.wikipedia.org/wiki/พินทุ :

บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากเอกสารอ้างอิงหรือแหล่งข้อมูล โปรดช่วยพัฒนาบทความนี้โดยเพิ่มแหล่งข้อมูลน่าเชื่อถือ เนื้อหาที่ไม่มีการอ้างอิงอาจถูกคัดค้านหรือนำออก

พินทุ (-ฺ) มีลักษณะคล้ายจุด ใช้เติมใต้พยัญชนะ เพื่อใช้ระบุอักษรนำหรืออักษรควบกล้ำ ในการเขียนคำอ่านของคำในภาษาไทย เช่น สุเหร่า อ่านว่า สุ-เหฺร่า, ปรากฏ อ่านว่า ปฺรา-กด เป็นต้น


ในการเขียนภาษาบาลีและภาษาสันสกฤตด้วยอักษรไทย จะเติมพินทุไว้ที่พยัญชนะสะกดของคำ เช่น ธมฺมา (ทัม-มา) อญฺชลี (อัน-ชะ-ลี) และเติมที่อักษรนำหรืออักษรควบกล้ำ เช่น สฺวากฺขาโต (สะ-หวาก-ขา-โต) เชตฺวา (เช-ตะ-วา) ในการแยกแยะว่าพินทุใดใส่เพื่อพยัญชนะสะกดหรืออักษรนำ ขึ้นอยู่กับประสบการณ์ของผู้อ่าน เนื่องจากคำที่ใช้พินทุสำหรับอักษรนำนั้นมีอยู่น้อยคำ

ในการเขียนคำทับศัพท์อาหรับด้วยอักษรไทย จะเติมพินทุไว้ที่พยัญชนะเพื่อเน้นว่า พยัญชนะต้องออกเสียงเสมือนว่าเป็นอักษรนำ เช่น อะบูบักรฺ (อะ-บู-บัก-ร) และ อัลลอหฺ (อัล-ลอ-หฺ)



*mynote* The use of phinthu also involves 'pronunciation' (reading) of words and so very important that we have full and correct understanding of how phinthu is used. School children should be taught about phinthu as early as possible. This means we must consider teaching all 'symbols' -not just alphabet- used in Thai language.


Join with me in request to the Royal Society to have our best reference for Thai language revised. Ask RS a question or send a link to this page to RS!


We will be looking at 'how to read' (pronunciation) in RSTD next.

คำสำคัญ (Tags): #พินทุ#bindu#phinthu#pronunciation
หมายเลขบันทึก: 612089เขียนเมื่อ 10 สิงหาคม 2016 05:24 น. ()แก้ไขเมื่อ 10 สิงหาคม 2016 05:26 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท