* สะเต็ม: จุดเน้นสำหรับการปฏิรูปวิทยาศาสตร์ศึกษาในปัจจุบัน


เรื่อง STEM: A focus for current science education reforms

ผู้เขียน ROBERT E. YAGER

ที่มา วารสารออนไลน์ K - 12 STEM Education Vol. 1, No. 1, Jan - Mar 2015, pp.1 - 4

เข้าถึงออนไลน์ กดที่นี่

.......................................................

แปลกากๆ นะครับ กากกว่า Google translate อีก 5555+

ใครอ่านแล้วพบจุดผิดพลาดช่วยแจ้งด้วยครับ แปลเอง งงเอง

เผื่อจะเป็นประโยชน์กับครูที่หลงผ่านมาอ่านบ้าง ซักนิดก็ยังดี :)

......................................................

STEM: A Focus for Current Science Education Reforms สะเต็ม: จุดเน้นสำหรับการปฏิรูปวิทยาศาสตร์ศึกษาในปัจจุบัน

The definition of STEM (Science, Technology, Engineering, and Mathematics) reforms remains unclear. STEM is not like a scientific term where scientists choose to replace a series of complex observations with a new word. Even with more and more money being spent to support STEM reforms in all K-12 classrooms, we continue to not have accurate ideas of what STEM efforts are and/or what they could/should accomplish. Some STEM changes have been proposed and considered for use in several statewide efforts across the United States. But, to what end? Will major funding improve the personal "doing" of science for all students and at all grade levels?

นิยามของคำว่าสะเต็ม ที่เป็นคำย่อของวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมและคณิตศาสตร์ ยังคงไม่ชัดเจน สะเต็มไม่เหมือนกับคำศัพท์ทางวิทยาศาสตร์ที่นักวิทยาศาสตร์เลือกมาใช้แทนชุดของการสังเกตที่ซับซ้อน ด้วยการใช้คำใหม่ขึ้นมา แม้ว่ามีการใช้เงินจำนวนที่มากขึ้นเรื่อยๆ ไปกับการสนับสนุนการปฏิรูปการศึกษาในชั้นเรียนในการศึกษาขั้นพื้นฐาน แต่ความพยายามทางด้านสะเต็มที่มีอยู่หรือสิ่งที่ควรจะทำให้สำเร็จก็ยังไม่มีแนวคิดที่ถูกต้องแน่นอน มีการเสนอและพิจารณาที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านสะเต็มในบางด้านและนำไปใช้ในหลายๆ รัฐของสหรัฐอเมริกา แต่บทสรุปคืออะไร เงินทุนส่วนใหญ่จะนำไปใช้ในการปรับปรุงการปฏิบัติด้านวิทยาศาสตร์เพื่อนักเรียนทั้งหมดหรือในทุกระดับหรือไม่
Project Synthesis (Harms & Yager, 1981) research efforts were completed with major financial support from the National Science Foundation (NSF). It involved hundreds of people concerning the needed research to accomplish student learning successes. But, most lacked coherence and success with real understanding of science for students. ความพยายามในงานวิจัยที่ทำการสังเคราะห์โครงการต่างๆ ขึ้นมานั้นสำเร็จลุล่วงด้วยเงินทุนสนับสนุนจาก the National Science Foundation (NSF) ซึ่งเกี่ยวข้องกับคนจำนวนหลายร้อยคนที่มีส่วนในงานวิจัยที่จำเป็นต่อการทำให้เกิดผลสำเร็จต่อการเรียนรู้ของนักเรียน แต่ทว่าโครงการต่างๆ นั้น ส่วนใหญ่ขาดความเชื่อมโยงและความสำเร็จในการสร้างความเข้าใจด้านวิทยาศาสตร์สำหรับผู้เรียนอย่างแท้จริง

Four goals were identified by Project Synthesis to describe the reasons for teaching science. These same four major goals influenced the aims of the National Science Education Standards (NSES) [NRC, 1996] as well as for the Next Generation Science Standards (NGSS) [Achieve, 2013]. The four goals for school science programs were to include defining specific student outcomes, teaching procedures, and accomplishments of real student learning. The four goals for science education define the reform efforts as follows:

1) the personal exploration of the natural universe and seeking explanations of the objects and events encountered;

2) use of appropriate scientific processes and principles when making personal decisions;

3) engage in public discourse and debate about matters of scientific and technological concern; and

4) increase economic productivity by use of science understandings and skills regarding careers.

ในการสังเคราะห์โครงการระบุเป้าหมาย 4 ด้าน ในการที่จะบรรยายเหตุผลสำหรับการสอนวิทยาศาสตร์ เป้าหมายหลัก 4 ด้านนี้เป็นผลมาจากเจตนารมณ์ของ National Science Education Standards (NSES) และเป็นเป้าหมายสำหรับ the Next Generation Science Standards (NGSS)ด้วยเช่นกัน เป้าหมาย 4 อย่างสำหรับโปรแกรมวิทยาศาสตร์ในโรงเรียนครอบคลุมถึงการกำหนดผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของผู้เรียนอย่างจำเพาะ มีแนวทางการสอนที่ชัดเจน และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ของผู้เรียนที่แท้จริง เป้าหมาย 4 ด้านสำหรับวิทยาศาสตร์ศึกษาเป็นตัวกำหนดความพยายามในการปฏิรูป ดังนี้
  1. การสำรวจตรวจสอบสิ่งต่างๆ ที่มีอยู่ในจักรวาล และค้นหาคำอธิบายของวัตถุและเหตุการณ์ที่เผชิญ
  2. ใช้กระบวนการและหลักการทางวิทยาศาสตร์ที่เหมาะสมเมื่อต้องมีการตัดสินใจส่วนบุคคล
  3. มีส่วนร่วมในการอธิบายและการโต้เถียงเชิงสาธารณะในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
  4. การเพิ่มผลผลิตทางเศรษฐกิจ โดยใช้ความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์และทักษะที่เกี่ยวข้องกับอาชีพนั้นๆ
These common goals continue to be used to describe science reform efforts – but, they rarely define what is done in classrooms to accomplish them or to exemplify current STEM efforts. In science education specific terms are used to indicate the reforms per se with no agreement on measurements of any features in advance. Textbooks are written which provide definitions of major concepts students should know. Such "knowing" often is only an indication of what students are expected to remember to indicate mastery of concepts, which often do not indicate real learning or real "knowing". เป้าหมายโดยทั่วไปทั้ง 4 ข้อนี้ ถูกนำมาใช้ในการบรรยายความพยายามในการปฏิรูปวิทยาศาสตร์อย่างต่อเนื่อง แต่กลับไม่ค่อยมีการกำหนดสิ่งที่ทำในชั้นเรียนเพื่อที่จะให้บรรลุผลสำเร็จหรือเพื่อที่จะยกเป็นตัวอย่างในความพยายามด้านสะเต็มในปัจจุบัน คำเฉพาะในด้านวิทยาศาสตร์ศึกษาถูกนำมาใช้เพื่อบ่งชี้การปฏิรูปโดยตัวของมันเองโดยไม่มีข้อตกลงร่วมกันในด้านการวัดลักษณะเฉพาะใดๆ ล่วงหน้า ตำราต่างๆ ที่ถูกเขียนขึ้นจะให้นิยามของแนวคิดหลักที่นักเรียนควรจะรู้ เช่นคำว่า "รู้" มักจะสื่อถึงการระบุสิ่งที่นักเรียนถูกคาดหวังว่าจะต้องจำได้เพื่อบ่งชี้ความรอบรู้ในด้านแนวคิด ซึ่งบ่อยครั้งที่ไม่ได้บ่งชี้การเรียนรู้โดยแท้จริงหรือสิ่งที่ "รู้" จริงๆ
When students are asked to elaborate about the explanations of the "doing" of science in classes, students often only list facts, concepts, and procedures. It is important to define and describe what is meant by "doing" science by practicing scientists. The first goal indicates new major emphasis for such doing of science. It is central to the National Science Teachers Association's position statement, which defines "both science and technology as human endeavors which involve similar basic procedures. Doing science involves exploring the natural world and then seeking explanations – based on evidence – regarding objects and events encountered. Technology focuses on the same features that include the human made world " (NSTA, 2013-14). เมื่อนักเรียนถูกถามให้อธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับการบรรยายถึงสิ่งที่ "การปฏิบัติ" เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ในชั้นเรียน นักเรียนมักจะระบุข้อเท็จจริง ความคิดรวบยอด และกระบวนการ มันเป็นสิ่งสำคัญที่จะกำหนดและบรรยายถึงสิ่งที่มุ่งหมายของคำว่า "การปฏิบัติ" ทางด้านวิทยาศาสตร์โดยนักวิทยาศาสตร์ที่ปฏิบัติงานด้านวิทยาศาสตร์โดยตรง เป้าหมายแรกบ่งชี้การให้ความสำคัญใหม่สำหรับสิ่งปฏิบัติทางด้านวิทยาศาสตร์ สิ่งที่เกิดขึ้นนี้เป็นศูนย์กลางไปสู่คำแถลงการณ์ของ the National Science Teachers Association ซึ่งนิยาม "ทั้งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีว่าเป็นความอุตสาหะของมนุษย์ซึ่งเกี่ยวข้องกับกระบวนการพื้นฐานที่คล้ายๆกัน การปฏิบัติทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวข้องกับการสำรวจโลกตามธรรมชาติและมองหาคำอธิบายที่อยู่บนพื้นฐานของหลักฐานเกี่ยวกับวัตถุและเหตุการณ์ที่เผชิญหน้าส่วนเทคโนโลยีเน้นไปที่ลักษณะเฉพาะเหมือนๆ กันซึ่งรวมถึงสิ่งที่มนุษย์ประดิษฐ์ขึ้นด้วย
When students were asked if they were convinced that they were actually "doing" science in their classes, most answered "of course". They just assumed that studying science in science classes and doing what the teacher expected are actually doing science and not related to doing what scientists do. This indicates the difficulty with what is meant by the "doing" of science. Students are more successful with science when it is seen as working on problems that they have identified. These problems for all students should include problems that are personal, current, local and/or requiring collaborative situations in their own lives. Typical science teaching is seen as following what teachers teach. This is especially the feeling offered by high school students in chemistry and physics -- more so than by students in the elementary and middle school grades. เมื่อนักเรียนถูกถามว่า พวกเขาได้ปฏิบัติทางวิทยาศาสตร์ ที่เกิดขึ้นจริงใช่หรือไม่ คำตอบที่ได้รับส่วนใหญ่ก็คือ " อย่างแน่นอน " นักเรียนแค่ทึกทักเอาว่าการศึกษาวิทยาศาสตร์ในห้องเรียนวิทยาศาสตร์และการปฏิบัติในสิ่งที่ครูคาดหวังเป็นการปฏิบัติทางวิทยาศาสตร์ที่เกิดขึ้นตามจริงและไม่ได้เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติตามแบบที่นักวิทยาศาสตร์ทำ สิ่งนี้แสดงถึงความยากลำบากกับความมุ่งหมายที่จะให้เกิดเป็น "การปฏิบัติ" ทางวิทยาศาสตร์ นักเรียนจะประสบความสำเร็จมากขึ้นในด้านวิทยาศาสตร์ก็ต่อเมื่อดูเหมือนว่าเป็นการทำงานบนปัญหาที่พวกเขาระบุขึ้นเอง ปัญหาต่างๆ เหล่านี้สำหรับนักเรียนทุกคนควรจะคลอบคลุมถึงปัญหาที่พบเจอโดยตรงกับตัวเอง เป็นปัญหาที่เป็นปัจจุบัน เป็นปัญหาที่เกิดในระดับท้องถิ่น และ/หรือต้องการสถานการณ์ที่มีความร่วมร่วมมือจากหลายๆ ฝ่าย ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันของพวกเขา การสอนวิทยาศาสตร์ที่เป็นแบบอย่างถูกมองว่าเป็นการปฏิบัติตามสิ่งที่ครูสอน โดยเฉพาะความรู้สึกที่เกิดขึ้นกับนักเรียนมัธยมปลายที่เรียนในวิชาเคมีและฟิสิกส์ในระดับมัธยม และมากขึ้นในนักเรียนระดับประถมและมัธยมต้น
Recently the NGSS leaders have talked about how students should be evaluated and involved in the actual "doing" by describing teaching (practices). These provide eight ways that help define what it means to actually do science. These features of science help improve student learning and mastery of science practices. They include: 1) asking questions (for science) and defining problems (for engineering); 2) developing and using models; 3) planning and carrying out investigations; 4) analyzing and interpreting data; 5) using mathematics and computational thinking; 6) constructing explanations (for science) and designing solutions (for engineering); 7) engaging in arguments concerning evidence; and 8) obtaining, evaluating, and communicating information (Achieve, 2013). These NGSS practices are excellent but they do not specify what is to be done by students vs. what is done by teachers. เมื่อไม่นานมานี้ คณะหัวหน้าทำงานในโครงการ NGSS มีการพูดถึงเกี่ยวกับว่าจะทำอย่างไรให้นักเรียนได้รับการประเมินและมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงานอย่างแท้จริง โดนได้เสนอวิธีการ 8 อย่างที่จะช่วยระบุสิ่งที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติทางด้านวิทยาศาสตร์ ลักษณะของวิทยาศาสตร์เช่นนี้ที่จะช่วยปรับปรุงการเรียนรู้ของนักเรียนและความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติงานด้านวิทยาศาสตร์ วิธีการ 8 อย่าง ได้แก่
  1. การถามคำถาม(สำหรับวิทยาศาสตร์)และการระบุปัญหา (สำหรับวิศวกรรม)
  2. การพัฒนาและการใช้แบบจำลอง
  3. ออกแบบและลงมือทำการค้นคว้า
  4. การวิเคราะห์และตีความหมายข้อมูล
  5. ใช้คณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์ช่วยในการคำนวณ
  6. สร้างคำอธิบาย (วิทยาศาสตร์)ออกแบบการแก้ปัญหา (วิศวกรรม)
  7. ใช้หลักฐานในการโต้แย้ง
  8. เมื่อสำเร็จมีการประเมินและสื่อสารข้อมูล
การปฏิบัติของ NGSS นี้เป็นสิ่งที่ยอดเยี่ยมแต่กลับไม่ได้กำหนดสิ่งที่ต้องปฏิบัติโดยนักเรียนเปรียบเทียบกับสิ่งที่ทำโดยครู
หมายเลขบันทึก: 584647เขียนเมื่อ 27 มกราคม 2015 18:50 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2015 20:49 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท