ถอดบทความสัมมนา "กิจกรรมบำบัดในผู้รับบริการฝ่ายจิตสังคม(Occupational Therapy in Psychosocial Dysfunction )"


นักกิจกรรมบำบัดฝ่ายจิตสังคมมีบทบาทหน้าที่มากกว่าการส่งเสริมฟื้นฟู เพราะยังมีหน้าที่ต้องดูแลผู้ป่วยให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความสุข และเกิดการฟื้นฟูทางด้านสภาพจิตใจ

"กิจกรรมบำบัดในผู้รับบริการฝ่ายจิตสังคม(Occupational Therapy in Psychosocial Dysfunction  )"

 

สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน ตอนนี้ก็ถึงเวลาของบันทึกสุดท้ายในการถอดบทความสัมมนา ซึ่งบันทึกนี้จะกล่าวถึงหัวข้อ "กิจกรรมบำบัดในผู้รับบริการฝ่ายจิตสังคม" โดย อาจารย์ ดร. ศุภลักษณ์ เข็มทอง อาจารย์นักกิจกรรมบำบัดฝ่ายจิตสังคม จากการถ่ายทอดประสบการณ์ และแบ่งปันความรู้ให้แก่นักศึกษาในวิชาสัมมนาสามารถสรุปได้ดังนี้ 

          นักกิจกรรมบำบัดฝ่ายจิตสังคมมีบทบาทหน้าที่มากกว่าการส่งเสริมฟื้นฟู เพราะยังมีหน้าที่ต้องดูแลผู้ป่วยให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความสุข และเกิดการฟื้นฟูทางด้านสภาพจิตใจ การเปลี่ยนทัศนคติเกี่ยวกับจิตเวชในประเทศไทยเพิ่งได้เริ่มขึ้น โดยเข้าไปมีส่วนร่วมในชุมชน แต่ก็ยังขาดการประสานงานกันอย่างมีประสิทธิภาพของสหวิชาชีพ ในบางประเทศได้มีการให้ผู้ป่วยได้มีโอกาสทำงานในบริบทจริงไม่เน้นการฟื้นฟู ขณะที่ประเทศไทยยังเน้นการฟื้นฟูในศูนย์ฟื้นฟู หรือโรงพยาบาลมากกว่า ปัจจุบันนี้จำนวนนักกิจกรรมบำบัดมีค่อนข้างน้อย จึงถือว่าขาดแคลนบุคลากรทางด้านจิตสังคมอยู่มาก ในอนาคตการพัฒนาเตรียมพร้อมเข้าสู่สมาคมอาเซียน จำเป็นต้องมีการผลิตนักกิจกรรมบำบัดเพิ่ม รวมองค์ความรู้ทางกิจกรรมบำบัดให้เป็นสากล มีการทำงานเป็นทีมสหวิชาชีพที่ดี รวมถึงให้นักกิจกรรมบำบัดคำนึงถึงบริบทและวัฒนธรรมของผู้รับบริการเป็นสำคัญด้วย

 

Hello, It's a time of final note in knowledge translation. This note write about topic "Occupational Therapy in Psychosocial Dysfunction" by Dr. Supaluk  Khemthonga who a professor and specializes psychosocial rehabilitation. He share his experience and give knowledge for us in Seminar course.

            Occupational therapist in psychosocial dysfunction have role rather than promotion, because we also has a duty to care for patients with better quality of life, well-being and the recovery of the state of mind. The Changing of attitudes about psychiatry in Thailand has recently started by participating in the community. However, it still lacks an efficient coordination of multidisciplinary. In some countries, patients have the opportunity to work in a context that does not emphasize rehabilitation. While Thailand has focused on rehabilitation in rehabilitation centers or more hospitals.Currently, the number of Occupational Therapist is relatively small. Psychosocial personnel shortage is considered a lot. In the future, preparation of development to AEC must produce additional Occupational Therapist, gather knowledge of occupational therapy to be universal, multidisciplinary team work better and including the Occupational therapist taking into account the context and culture of the client important.

 

ขอขอบคุณความรู้ดีๆจากคณาจารย์ทุกท่านๆ 

Thank you for knowledge from professors

                                                                                                            นฤบดี ลาภมี

                                                                                                      Narubodee Lapmee

หมายเลขบันทึก: 564038เขียนเมื่อ 17 มีนาคม 2014 10:49 น. ()แก้ไขเมื่อ 17 มีนาคม 2014 10:49 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท