นกน้อย..กับ.ทุ่งนาของ.ชาวนา..(แกลลอลี่ชีวิต)


นก..แสก..น้อย..ตัวนี้..เมื่อสามสี่อาทิตย์ก่อน..ยืนอ่อนละโหย..โรยแรงอยู่ใต้ต้นไม้ใหญ่...ต้นหนึ่ง..ถูก..ไฟไหม้..(ไม่ทราบสาเหตุ)ไม้ใหญ่สองต้น..อยู่ไม่ไกลกันนักแต่ละต้น..มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณสองเมตร..หรือสี่คนโอบ..โดยประมาณ..ที่น่าประหลาดใจ..ต้นไม้สองต้นนี้..เป็นต้นไม้ต่างชนิดอยู่รวมๆกัน..ที่เห็นมี..โพธิ์.ไทรหรือจิก.สะเดาอีกสองสามชนิด..(ไม่ทราบชื่อ)..ที่น่าสังเกตุ..คือ..มันชึ้นชิดกันจนแลดูเป็นต้นเดียว..ทั้งสองต้น....ต้นหนึ่งมี..คนเอาศาลพระภูมิมาทิ้งไว้..เลย..ยังคง(ไม่โดนเผา..และเป็นต้นที่พบนกแสกน้อยตัวนี้....)

ไม้ใหญ่หลายชนิดในป่าใหญ่ที่ยืนต้น..สูงลิบลิ่ว..ต้นแม่..อาจจะตายไปนานแล้ว..เพราะไม้ที่อยู่ข้างเคียงได้โอบอุ้มไว้..จนตาย..เพราะ..ต้นที่มาโอบ..นั้นแข็งแรงกว่า....ไม้ใหญ่..เป็น..ที่อยู่อาศัย..ของ..นกกา...สารพันธุ์ชนิด.....

ในทุ่งนา.ป่าเขา..มีมวลสัตว์..อาศัย..อยู่รวมกัน..มิแบ่งแยก...เป็นอาหาร..ซึ่งกันและกัน..ต่างไล่ล่า...เพื่อ..ชีวิต..ที่จะให้อยู่รอด.....

"สัตว์ใหญ่..กิน..สัตว์..เล็ก..และที่อ่อนแอกว่า....ปลาใหญ่กินปลาเล็ก..ที่เล่าขาน..โบราณมา..."

นกน้อย..ถูก..นำพา..ให้..รอดปากเหยี่ยว..ปากกา......ปากหมาปาก..งู.......................(อาจเป็นแค่ฝัน...ที่จะช่วยๆกันไป...กับ..ท้องนา..ของชาวนา..ที่เห็นวันนี้)........

นกน้อย..กับ ทุ่งนาของชาวนา....ใน..(แกลลอลี่ชีวิต..ที่ปราศจาก..งูเห่า).....................

หมายเลขบันทึก: 561762เขียนเมื่อ 16 กุมภาพันธ์ 2014 06:28 น. ()แก้ไขเมื่อ 16 กุมภาพันธ์ 2014 06:28 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (11)

ชอบทุ่งนาป่าข้าวจัง...มีดอกจานออกดอกสีแดงด้วย...ธรรมชาติดั้งเดิมแท้จริงนะยาย...เอ๊ะ นั่นนกแสกหรือนกหน้าคนใช่มะยาย...

คุณยายย้ายไปอยู่เมืองไทยถาวรแล้วหรือครับ

สวัสดีค่ะสวัสดี คุณ ส.รัตนภักดิ์ ใช่แล้วนกแสก หน้าคนผีๆมั้ง. คนกลัวกันจั้ง....งงๆๆ

สวัสดีค่ะคุณคนบ้านไกล...ยายธียังอยู่เป็นที่เป็นทางไม่ได้เจ้าค่ะ..ตอนนี้..กำลังเป็น.คนผี..ไม่มีศาล. อ้ะะะๆๆๆ. คงจะเหมือนเจ้านกผี..ตัวน้อยตัวนี้..๕๕๕๕

ชอบบรรยากาศจัง ขอให้เจ้านกน้อยโตวันโตคืนนะคะ

หมอเปิ้น ชอบภาพนี้ของยายธีจังเลยค่ะ

มันเป็นผู้ล่า คะคุณยาย แล้วคุณยายป้อนมันด้วยอะไรคะ...อย่าบอกนะคะว่ากินกล้วย

สวัสดีค่ะ..ผอ.อัญชัญ ครุฑแก้ว.."อยากจะบอก..ว่า..ตรงกันข้าม..."....มันเป็นผู้ถูกล่า..เจ้าค่ะ..สาเหตุก็คือ..ความเชื่อ..ที่ฝังเป็นรากลึก...ความ"กลัว ตาย".ของคน...จนเป็นสาเหตุ..ของการถูกล่าของนกชนิดนี้...ความเกลียดกลัวโดยไม่มีเหตุผล...เป็นเพียงเขาเล่าว่า....มันเป็น..สัญญลักษณ์แห่งความตาย...จึงมีการขับไล่..ถึงชนิด..ขุดโคตรไล่..ก็มี.."ลุงรินเป็นผู้เล่าถึงประสพการณืชนิดนี้..เห็นเป็นยิงทิ้ง..อ้ะะ"....ส่วนดี..ของนกชนิด..นี้..ที่เป็นสัญลักษณืของความอุดมสมบรูณ์เป็นพาหนะของพระนางลักษมีเทวี..มีนกนี้ไว้ขี่ในยามค่ำคืน..ตรวจท้องทุ่งนารักษาความสมบรูณ์ของท้องทุ่งนา...กลับไม่มีใคร..กล่าวขานถึง......(มันเป็นเรื่องแปลกๆ...๕๕๕๕)...และอีกหนึ่ง..รู้มาว่า..มันกำลังถูกล่า..ให้ไปเป็น..ทาสตั้งแต่เกิด...ของพวกอยากเป็น(เศรษฐี)..สวนปามล์..ด้วยแหละเจ้าค่ะ...

เรื่อง อาหาร..ก็กำลังเป็น ปัญหา..ว่า..ทำไงจะให้เจ้า นก..ตัวนี้..ปีกกล้า..ขาแข็ง..บิน..หากินได้..ตามประสานก...(ได้ยินว่า..แม่มัน..มาเฝ้ากันคอยอยู่..)...มันกินหนู..งูบางทีจะเป็นปลาด้วย..มันมีศัตรูคือ..นกเอี้ยง..ที่บินจิกตี..นกขนิดนี้...อิอิ..(นกเอี้ยง..ชุมนุมกันบนยอดต้นงิ้ว..ส่งเสียงดังยิ่งกว่านกหวีดในกรุง...คงจะบอกกันว่า..เมื่อไรเจ้าลูกนก..จะออกจากกรง..ซ้ะที...๕๕๕๕๕....(แอบคิดเล่นตามประสายายธี..ตอนเช้ามืด..ที่นกร้องกันเซ็งแซ่..).

It's not an easy thing to do -- to train a hunter to hunt live prey. I saw (in wildlife documenteries), mother birds give 'crippled' preys to chicks -- for them to play on 'prey' and learn to prey. For us to act like a mother bird is against siila number 1! Perhaps, dangling a piece of meat on a string tied to a rod may do the trick. Good luck, Grandmother Bird ;-)

สรุปว่า....มันคือ "นกแสก" นะครับ 555

อยากเล่า  ถึงนกแสก  ตัวนี้.."บักอินทร์"....ได้ข่าวมาว่า..โตเป็นสาวแล้ว..(อยากได้ลงลงรูป..แต่ก้อปไม่เป็น..อิอิ...ต้องถามป้าวิ..จะลงรูปาให้ดูได้ไหมนี่...อีกสองเดือน..คงจะถูกปล่อย..สู่โลกภายนอก...

สงสาร..ที่ว่า..ประเทศเรา..ยังมีความงมงายที่เชื่อว่า..เนกแสกเป็น..สัญญลักษณ์แห่งความตาย..มันอยู่ที่ไหน..ก็จะมีแต่ผู้ไล่ล่า...โดยไม่เห็นคุณประโยชน์ที่เขา..ล่าหนู..แทนเรา..

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท