Clinical Reasoning skill in Occupational Therapy


Information of the client

 

ชื่อย่อหรือนามสมมุติผู้รับบริการ  นาย เอ นามสมมุติ   อายุ  33  ปี 

การวินิจฉัย:  Ischemic stroke 

 

อาการ:Right Hemipalysis(brunnstromsynergymovement pattern)

ความสามารถที่มีอยู่ของผู้รับบริการและความบกพร่องของผู้รับบริการ

  -ผู้รับบริการมีความสามารถด้านADL อยู่ในระดับ supervision

  -ผู้รับบริการมีการเคลื่อนไหวแบบ synergy pattern (กำลังเข้าสู่ isolate movement)

  -verbal aphasia

  -มีปัญหาเรื่อง coordination ของ Gross & Fine motor

 

  -สามารถจับแบบ pinch tip ได้ แต่ไม่คล่องแคล่ว

 

Science Reasoning

   Frame of reference 

          ICF : Demonstrate the different clinical reasoning for members of the team working

                 Mcintyre, A. (2006)  & Include environment 

        NDT : CIMT - 30 min/day , 3 days/week for 10 weeks 

                                - increase Total ARA & pinch subscale scores (P<0.05) (Edwards,Dorothy F,2011)

                   : Brunnstrom - improve hand function BRS-H;p=0.003 – 0.04, FMAWH:p<0/01 (Narayan, A.                                              K.,2012)

                                         - ใช้เพื่อประเมินปัญหาและความสามารถของผู้รับบริการ

                                 แก้ปัญหาและความบกพร่องของการควบคุมการเคลื่อนไหว

    Prevocational

    §การประเมิน Functional  Capacity Evaluation :  Prevocational Evaluation - เพื่อระบุความสามารถของแต่ละคน

                                                                 :  Work Evaluation - เพื่อป้องกันการบาดเจ็บที่อาจเกิดขึ้น จากการ                                                                                                                       ทำงานที่มีข้อจำกัดและรูปแบบงานที่เปลี่ยนแปลงไป

 

            §จัดโปรแกรม  Work Hardening Program     :  Work Conditioning Program - เพื่อทราบถึงขอบเขตของความผิดปกติที่                                                                                                           มีอยู่หรือระดับความบกพร่องของร่างกายเพื่อการนำความสามารถที่มีอยู่มา                                                                                                           ทดแทน

                                                                                                        : Work conditioning Program - เพื่อวางแผนในการไปฝึกตามโปรแกรมการ                                                                                                            ฟื้นฟู 

 

 
             Work Hardening: Occupational Therapy in Industrial Rehabilitation

                                                           Leonard N. Matheson

                           increase changes in workers                           increase cost-effective and time-saving 

 Conditional Reasoning
       NDT : CIMT  - ใช้มือและแขนด้านที่มีพยาธิสภาพทำกิจกรรม 

                                           - เพิ่มความสามารถในการทำกิจกรรมของมือและแขนด้านที่เกิดพยาธิสภาพ

                   : Brunnstrom ใช้เพื่อประเมินปัญหาและความสามารถของผู้รับบริการ

                                 แก้ปัญหาและความบกพร่องของการควบคุมการเคลื่อนไหว

Narrative Reasoning

      ผู้รับบริการบอกว่า “มือดีขึ้นกว่าเมื่อก่อนเยอะ จากเมื่อก่อนที่ไม่สามารถขยับได้เลย แต่ปัจจุบันสามารถขยับได้มากขึ้น”

แสดงให้เห็นถึงว่า   การรักษาที่เราให้ทำให้เกิดความก้าวหน้าของความสามารถของผู้รับบริการ และ แสดงให้เห็นถึงความพึงพอใจในการรักษาของผู้รับบริการ

ผู้รับบริการกล่าวว่า “อยากกลับไปทำงานเดิม แต่ไม่รู้จะได้ทำหรือไม่ เนื่องจากตนเองเดินยังไม่คล่องแคล่วและมือยังไม่สามารรถใช้งานได้เหมือนเดิม ต้องกลับเข้าไปรับการประเมินก่อน”

แสดงให้เห็นถึง   ผู้รับบริการตระหนักรู้เกี่ยวกับพยาธิสภาพและความสามารถทางด้านร่างกายของตนเอง  ทำให้ผู้รับบริการมีความพยายามในการฝึกฝนตนเองให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เพื่อเตรียมตัวที่จะกลับไปทำงานต่อ

 

 

Ethic Reasoning

พระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐

มาตรา ๗ ข้อมูลดานสุขภาพของบุคคล เปนความลับสวนบุคคล ผูใดจะนําไปเปิดเผยในประการที่นาจะทําใหบุคคลนั้นเสียหายไมไดเวนแตการเปดเผยนั้นเปนไปตามความประสงคของบุคคลนั้นโดยตรง หรือมีกฎหมายเฉพาะบัญญัติใหตองเปดเผยแตไมวาในกรณีใด ๆ ผูใดจะอาศัยอํานาจหรือสิทธิตามกฎหมายวาดวยขอมูลขาวสารของราชการหรือกฎหมายอื่นเพื่อขอเอกสารเกี่ยวกับขอมูลดานสุขภาพของบุคคลที่ไมใชของตนไมได

 

มาตรา ๘ ในการบริการสาธารณสุข บุคคลากรดานสาธารณสุขตองแจงขอมูลดาน

 

สุขภาพที่เกี่ยวของกับการใหบริการใหผรับบริการทราบอยางเพียงพอที่ผูรับบริการจะใชประกอบการตัดสินใจในการรับหรือไมรับบริการใด และในกรณีที่ผูรับบริการปฏิเสธไมรับบริการใด จะใหบริการนั้นมิได้

 

Integration Reasoning

 

กิจกรรมบำบัดในผู้รับบริการหลอด3เลือดสมอง : http://www.gotoknow.org/posts/541014

รายงานการให้เหตุผลคลินิกทางกิจกรรมบำบัดในผู้รับบริการหลอดเลือดสมอง : http://www.gotoknow.org/posts/542053

หลักการให้เหตุผลทางกิจกรรมบำบัด (Goal writting ABCD & FEAST) : http://www.gotoknow.org/posts/546186

หลักการให้เหตุผลทางกิจกรรมบำบัด (Goal writting RHUMBA & SMART) : http://www.gotoknow.org/posts/547089

หมายเลขบันทึก: 547175เขียนเมื่อ 1 กันยายน 2013 17:17 น. ()แก้ไขเมื่อ 15 กันยายน 2013 21:28 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

...การใช้ "ชื่อย่อหรือนามสมมุติผู้รับบริการ " เป็นเรื่องที่ดีมีจรรยาบรรณ...ในกรณีศึกษาที่ได้หยิบยกมากล่าวในบันทึกนะคะ...ขอบคุณ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท