ทฤษฎีเครือข่ายทางสังคม_4


Click 4 : ทฤษฎีช่องว่างโครงสร้าง (structural hole theory)

Burt (1992) อธิบายถึงเครือข่ายทางสังคมที่เกาะเกี่ยวกันอย่างหลวมๆ ด้วยข้อสันนิษฐานที่ว่า มีบุคคลหรือสมาชิกของเครือข่ายทางสังคมทำหน้าที่เป็นสะพานเชื่อมระหว่างสองเครือข่ายทางสังคม และเป็นสื่อกลางในการนำข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ และทรัพยากรไปมาระหว่างกันผ่านเส้นทางเพียงเส้นทางเดียว ณ ตำแหน่งของบุคคลนี้จะเป็นความสัมพันธ์แบบเบาบาง (non-redundancy) ระหว่างเครือข่ายทางสังคม หรือภายในเครือข่ายทางสังคมเดียวกัน และเรียกตำแหน่งนี้ว่า ช่องว่างโครงสร้าง บุคคลนั้นนับเป็นแหล่งทรัพยากรที่ทรงคุณค่า และควรให้ความสำคัญ และเมื่อความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในเครือข่ายมีความแน่นแฟ้น เขาจะสามารถเชื่อมต่อถึงบุคคลอื่น ๆ ในเครือข่ายได้อย่างหลากหลายและสามารถเข้าถึงแหล่งทรัพยากรแหล่งเดียวกันได้จากหลายเส้นทาง

"ช่วงเวลาการ เกษียณอายุ มีใครในองค์กรของคุณบ้างที่เคยทำหน้าที่เป็นสะพานเชื่อมระหว่างเครือข่าย และเค้ากำลังจะเกษียณ ? หาตัวแทนเค้าไว้หรือยัง ?"

หมายเลขบันทึก: 546336เขียนเมื่อ 23 สิงหาคม 2013 12:04 น. ()แก้ไขเมื่อ 24 สิงหาคม 2013 16:42 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท