หลักการให้เหตุผลทางคลินิก (Goal writting ABCD & FEAST)


ABCD

A = ผู้รับบริการรู้ถึงพยาธิสภาพของตนเอง คือ มีการอ่อนแรงของร่างกายซีกขวาและรู้ว่าเมื่อขึ้นมาฝึกที่ห้องกิจกรรมบำบัดเป็นการฝึกแขนและมือ

ฺD = ความสามารถปัจจุบันของผู้รับบริการ brunnstrom stage 4 turn to 5 (movement with synergy turn to synergy pattern)

B = ผู้รับบริการมีลักษณะนิสัยที่ทำอะไรรวดเร็ว ซึ่งเป็นลักษณะนิสัยส่วนตัวของผู้รับบริเารเดิมอยู่แล้ว จึงทำให้ส่งผลต่อการเกิดความเสี่ยงในการทำกิจกรรม เช่น ผู้รับบริการเป็นคนเดินเร็ว ทำให้มีความเสี่ยงต่อการหกล้ม เป็นต้น แต่ปัจจุบันผู้รับบริการมีการตระหนักถึงปัญหาในข้อนี้ ผู้รับบริการมีการเดินช้าลง ทำกิจกรรมต่างๆ ด้วยความระมัดระวังมากขึ้น ส่งผลให้การทำกิจกรรมต่างๆ มีความปลอดภัยมากขึ้น

C = ผู้รับบริการถูกวินิจฉัยว่าเป็น Ischemic stroke บริเวณ basal ganalion ซึ่งส่งผลต่อการควบคุมการเคลื่อนไหว

FEST

A = ปัญหาของผู้รับบริการคือ ไม่สามารถทำกิจกรรมที่ต้องใช้ bilateral และ กิจกรรมหริองานที่อาศัยความคล่องแคล่วของการเคลื่อนไหวของตนเองได้ ความสามารถ ADL ของผู้รับบริการอยู่ในระดับ supervision

F = ยึดตามหลักของ OPP : Performance areas ที่ผู้รับบริการควรได้รับการส่งเสริม ได้แก่ Bathing & Showering , Dressing , Functional mobility , Home management , ซึ่งอยู่ในระดับ suoervision และ vocational activity ซึ่งในด้านของ Vocational ผู้รับบริการต้องได้รับการประเมินความสามารถในการทำงานว่าสามารถทำงานในตำแหน่งเดิมได้หรือไม่ (แผนกซ่อมบำรุง) หรือสามารถทำงานแผนกใดได้บ้าง

E = ผู้รับบริการมีความคาดหวังที่จะสามารถประกอบอาชีพหาเลี้ยงตนเองและครอบครัวได้ สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้ด้วยตนเองอย่าง independnt 

    analysis activity 

          งานเดินตรวจรางรถไฟ

                 Performance areas : Functional mobility

                 Performance component : visual , vestibular , Kinestheais , pain respone , spatial relation                                                     Muscle tone , Postural control , Gross coordination , Crossing                                                         midline , Praxis

           งานซ่อมรางรถไฟ (ต้องมีการใช้ประแจไขน๊อตตัวใหญ่)

                 Performance component :  visual , vestibular , Kinestheais , pain respone , spatial relation                                                       Muscle tone , Postural control , Gross coordination , Crossing                                                         midline , Praxis , Laterality , Fine coordination , Memory ,                                                            Sequencing , Problem solving

S = จากการทำ activity analysis พบว่า ความสามารถ ณ ปัจจุบันของผู้รับบริการนั้นยังไม่สามารถกลับไปทำงานในหน้าที่เดิมได้ ต้องได้รับการฝึกเพิ่มเติมด้านต่างๆ ดังนี้ 

                 Performance areas : Functional mobility

                 Performance component : Muscle tone , Postural control , Gross coordination ,  Laterality                                                     Fine coordination

T = ผู้รับบริการใช้ระยะเวลาประมาณ 2 เดือน (2 ชั่วโมง/วัน , 5 วัน/อาทิตย์) ฝคกจาก Brunnstrom stage1 ถึงความสามารถปัจจุบันคือ Brunnstrom stage 4 Goal srtting ขั้นต่อไปคือ tern ro Brunnstrom stage 5 ภายใน 1 เดือน

การให้เหตุผลทางคลินิก (ข้อมูลผู้รับบริการ,ทฤษฎีและวิทยาศาสตร์,) : http://www.gotoknow.org/posts/542053

หมายเลขบันทึก: 546186เขียนเมื่อ 21 สิงหาคม 2013 21:43 น. ()แก้ไขเมื่อ 21 สิงหาคม 2013 21:44 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท