รพ.หนองม่วง
รพ.หนองม่วง รพ.หนองม่วง รพ.หนองม่วง รพ.หนองม่วง

อบรมวิเคราะห์ข้อมูลและการเขียนบทความวิชาการทางการแพทย์ วันที่ 24-28 มิถุนายน 2556


1.หลักการทำวิจัยให้สำเร็จ โดย ศ.ดร.นพ.พรชัย สิทธิศรัณย์กุล  คือ การศึกษาหาความจริงหรือความรู้ใหม่ด้วยกระบวนการที่ถูกต้อง เชื่อถือได้ (เที่ยงตรง) เป็นที่ยอมรับในวิทยาการแต่ละสาขาวิชา    วิธีการทางวิทยาศาสาตร์ คือวิธีการทำงานอย่างมีระบบและเป็นขั้นตอน    1.การสังเกต    2.กำหนดปัญหาให้ชัดเจน  3.ตั้งสมมุติฐานเป็นคาดคะเนคำตอบของปัญหาอย่างมีเหตุผล  4.ออกแบบการทดลองและทำการทดลองตามสมมุติฐานที่ตั้งไว้  5.สรุปผลการทดลองหลังจากการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ของผลการทดลองที่ได้อย่างมีเหตุผล    

  

Research Study 1.Quantitative study :การศึกษาเชิงปริมาณ - เน้นข้อมูลเชิงปริมาณ- มีจำนวนตัวอย่างตามที่กำหนด(คำนวณขนาดตัวอย่าง) - มีการใช้เครื่องมือ ในการเก็บข้อมูลหลากหลาย เช่น ตรวจร่างกาย การตรวจห้องปฏิบัติการ แบบสอบถาม- ใช้หลักการทางสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล- จำแนกตามวิธีการวิจัย แบ่งเป็น Observation Study และ Experimental study 2.Qualitative study : การศึกษาเชิงคุณภาพ- เน้นข้อมูลเชิงคุณภาพ- จำนวนตัวอย่างในการศึกษาไม่จำเป็นต้องมากถ้าข้อมูลที่ได้รับครบถ้วนถูกต้องแล้ว-เครื่องมือคือนักวิจัย ถามเฉพาะคนที่รู้เรื่องดี ยินดีให้ข้อมูล- วิธีการเก็บข้อมูล:การสังเกต(Observation)-Participatory Observation มีส่วนร่วม-Non Participatory Observation ไม่มีส่วนร่วม:Focus Group Discussion:In-depth Interview:Life history collection

Epidemiologic study 1.Observational study:Natural Exposure:Descriptive study: Non comparison group-Cross – sectional-Longitudinal1.Prospective2.Retrospective:Analytic study:comparison group-Cross – sectional-Cohort-Case - control 2.Experimental study:Assigned  Exposure:Laboratory  Animal  Human:Quasi – experimental study:True   – experimental study : RCT 

การวิจัย1.คำถามของการวิจัย (Research Question)2.ดำเนินการวิจัย ( เพื่อค้นหาความจริง )3.ผลการวิจัย(ข้อเท็จจริง) ค่าความจริง (true value) +ค่าความเท็จ (Error)     แบบสุ่ม (Random Error) (Noise)                 อย่างเป็นระบบ( Systematic Error)(Bias)หลักสำคัญในการทำวิจัย 1.ทำทำไม :เป้าหมายของงานวิจัย2.ทำเรื่องอะไรดี : การตั้งโจทย์หรือคำถามการวิจัย3.ทำยังไงดีจึงจะได้คำตอบตามคำถามที่ตั้งไว้: การกำหนดวิธิการทำวิจัยและการวิเคราะห์ข้อมูล4.จะจัดการอย่างไรให้ได้ผลงานตามแผน:การกำหนดทรัพยากรที่ต้องการและวิธีจัดการการวิจัย5.ผลที่ได้เอาไปใช้ประโยชน์อะไร:การแปลผลจากการวิจัยและการนำไปประยุกต์ใช้

ขั้นตอนในการทำวิจัย1.เลือกหัวข้อวิจัย สำคัญมาก นิยามให้ชัดเจน เหมาะสม และสัมพันธ์กับเรื่องที่จะศึกษา ควรมี 1 คำถามหลัก ใช้เวลา คุ้มค่าถ้าได้หัวข้อที่ดี ปัญหา หรือ ความตระหนัก  = สิ่งที่คาดหวัง – สิ่งที่เป็นอยู่ข้อพิจารณา น่าสนใจ (จากงานที่ทำ รับผิดชอบ ประสบการณ์ แรงบันดาลใจ มีแหล่งทุน เจ้านายสนับสนุน)ทำได้     (มีข้อมูล เก็บข้อมูลได้ ประชากร/ตัวอย่าง หาได้ เพียงพอ ร่วมมือ 5 M ไม่เกิดอันตราย)สำคัญ    (อุบัติการณ์สูง ความชุกสูง อัตราตาย ป่วยสูง ทุพพลภาพสูง ผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตสูง สูญเสียทางเศรษฐกิจสูง ชุมชนตระหนักสูง)คิดใหม่ทำใหม่ ( องค์ความรู้ใหม่ สิ่งประดิษฐ์ใหม่ คัดกรอง วินิจฉัย รักษาใหม่ แนวทางปฏิบัติใหม่ ของเก่าแต่กลับมาทำใหม่) มีประโยชน์ (มีการเปลี่ยนแปลงแนวทางและนโยบาย) ได้ความรู้    (ประสบการณ์ ทบทวนวรรณกรรม ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ ประชุม/สัมมนา)2.การทบทวนวรรณกรรม  - ค้นหาดูเรื่องที่สนใจมีใครทำ รูปแบบการวิจัย ตัวอย่าง ตัวแปร แหล่งข้อมูล เครื่องมือในการเก็บข้อมูล ผลการวิจัย ข้อเสนอแนะ สรุปวรรณกรรมแต่ละชิ้น ชื่อเรื่อง/หัวข้อ รูปแบบและวิธีการศึกษา ผลการศึกษา เปรียบเทียบกับการศึกษาอื่นที่คล้ายคลึงกัน ข้อดี ข้อจำกัด ข้อเสนอแนะของผู้นิพนธ์ในการศึกษาต่อไป ความคิดเห็นอื่นๆ -เปรียบเทียบงานวิจัยที่มีหัวข้อเดียวกันหรือใกล้เคียงกัน -ขอคำอธิบายหรือการแปรผลประเด็นที่สนใจมากขึ้น - ติดต่อ ขอคำแนะนำและแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นกับนักวิจัยอื่นๆสำคัญมาก นิยามให้ชัดเจน เหมาะสม และสัมพันธ์กับเรื่องที่จะศึกษา ควรมี 1 คำถามหลัก ใช้เวลา คุ้มค่าถ้าได้หัวข้อที่ดี 3.การกำหนดวัตถุประสงค์และกรอบแนวคิด ต้องทำอะไร ตัวกำหนดทิศทาง ขอบเขต เงื่อนไข วัตถุประสงค์ทั่วไป วัตถุประสงค์เฉพาะ4.เลือกรูปแบบการวิจัยให้เข้ากับวัตถุประสงค์5.การกำหนดประชากรและการเลือกตัวอย่าง5.1 Probability sampling  Simple randomsamplingSystematic samplingStratifile samplingCluster samping5.2 Non Probability sampling  Purposive  samplingQuota samplingConvenient  samplingSnowball sampling6.การเก็บและรวบรวมข้อมูล validity  และ reliability มาตรวัดของข้อมูล Oridinal Nominal Interval Ratioประเภทข้อมูล Qualitative  Quantitativeวิธีการและเครื่องมือในการเก็บข้อมูล7.การบันทึกและวิเคราะห์ข้อมูล ลงรหัส แก้ไข บันทึกข้อมูล การวิเคราะห์ เชิงพรรณนา เชิงอนุมาน การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์8.การนำเสนอและอภิปรายผล9.การเขียนรายงานและส่งตีพิมพ์10.การวางแผน ควบคุมและบริหารงานวิจัย

2.หลักการใช้สถิติในงานวิจัย โดย ศ.ดร.นพ.นรินทร์ หิรัญสุทธิกุล                                                                       3.โปรแกรมสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ การเตรียมและการตรวจสอบข้อมูล  คำสั่งเบื้องต้นในการจัดการข้อมูล  Exploratory data analysis  Continuous data  analysis  โดย รศ.ดร.นพ.วิฑูรย์  โลห์สุนทร                                                                                  4.Categorical data analysis  Samples size determination โดย รศ.ดร.สมรัตน์  เลิศมหาฤทธิ์                         5.การเขียนบทความวิชาการเพื่อตีพิมพ์ โดย ศ.ดร.นพ.พรชัย สิทธิศรัณย์กุล                                                                6.การสืบค้นข้อมูลการทางการแพทย์และการใช้โปรแกรม EndNote

มีเอกสารการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลและการเขียนบทความวิชาการทางการแพทย์จำนวน 1 เล่ม

                                                                                                                               

คำสำคัญ (Tags): #วิจัย
หมายเลขบันทึก: 541914เขียนเมื่อ 9 กรกฎาคม 2013 17:01 น. ()แก้ไขเมื่อ 9 กรกฎาคม 2013 17:02 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท