ใบงานที่ 5 ภาษาไทยมีเสียงหนักเบา


ใบความรู้ที่ ๕

วิชาภาษาไทย ๑  ท ๔๑๑๐๑  ชั้น ม.๔  นายสมเกียรติ  คำแหง

ภาษาไทยมีเสียงหนักเบาต่างกัน

  คำบางคำมีพยางค์เดียว บางคำมีหลายพยางค์  คำเหล่านี้เมื่อพูดต่อเนื่องเป็นประโยค

หรือข้อความผู้พูดจะลงเสียงหนักเบาไม่เท่ากัน

  บางครั้งเสียงหนักเบาขึ้นอยู่กับความหมายของคำ เจตนาในประโยคที่ต้องการสื่อสาร

เสียงหนักเบาของคำพูดที่เป็นพยางค์และคำ

  ๑. ถ้าคำพูดเป็นพยางค์เดียวและเป็นคำสำคัญในประโยค

    -ลงเสียงหนักที่ คำนาม คำกริยา คำวิเศษณ์บางคำที่ใช้ประกอบหลังคำนามหรือกริยา

    -ลงเสียงเบาที่คำที่ใช้แทนคำอื่น เช่น คำสรรพนาม คำบุพบทคำเชื่อมหรือคำวิเษณ์ที่ประกอบหน้าคำกริยา

ประโยค

หนัก

เบา

เหตุผล

เขาตั้งตระหง่าน

เขาตั้งเครื่องบูชา

เขาสูงเสียดฟ้า

เขาสูงกว่าพี่

ฉันชอบเที่ยว จนเจ้านายเพ่งเล็ง

ฉันชอบ เที่ยวทะเลเพราะอากาศสดชื่น

มันอร่อยกว่าเผือก

มันอร่อยเหมือนกันเงาะพวงนี้

ลูกค้ามา  เอาสี่โมงเพราะรถติด

ลูกค้ามาเอา สี่โมงขนมยังไม่เสร็จ

ลูกค้า มาเอาสี่โมง  ขนมยังไม่เสร็จ

แม่จะไปเชียงใหม่

แม่เห็นจะจ้า

พ่อกับแม่ไปเชียงใหม่

ฉันอยู่ที่บ้าน

เขา

ตั้ง

มา

เขา

เอา

กับ

ที่

เขาเป็นคำนามคือภูเขา

มาเป็นคำกริยา เอาวิเศษณ์บอกเวลา

กับเป็นคำบุพบทจึงออกเสียงเบา

ที่เป็นคำเชื่อมจึงออกเสียงเบา

  -คำเดียวกันออกเสียงหนัก-เบาไม่เท่ากันขึ้นอยู่เจตนาในการสื่อสาร  คำนามเมื่อเป็นคำเรียก

ผู้อื่นจะลงเสียงหนักกว่า เมื่อใช้เป็น ประธาน กรรม หรือคำขยายคำอื่น

ประโยค

หนัก

เบา

เจตนา

ป้า  หนูกลับมาแล้ว

ป้ากลับมาแล้ว

แม่  ผมจะไปแล้ว

แม่ผมจะไปแล้ว

ฉันจะไปกับเธอ  ไม่ไปกับเขา

แน่ละ เขาดีกว่าฉันนี่

ไม่มีใครเก่ง เท่าเธออีกแล้ว

ป้า

เป็นคำเรียกบอกป้าว่าเรามาแล้ว

  ๒.คำพูดที่มี๒พยางขึ้นไป  ออกเสียงหนักเบาได้ดังนี้

  - คำความหมายเดียวกันออกเสียงหนักพยางค์สุดท้าย

  ศศิ  ศศี  ศศิน

  - ถ้าพยางค์ที่๑ และพยางค์ที่๒ มีเสียงเดียวกัน (สั้นหรือยาวเหมือนกัน มีตัวสะกดเหมือนกัน หรือไม่มีเหมือนกัน) จะออกเสียงหนักพยางค์หลัง

  ขณะ  คณะ  พละ  สวะ  สะบ้า  ตะกร้า  มะกอก  ละมุน  ดิถี  วิชา

  ทิวา  นุกูล  ภาษา  นานา  ต่าง  ดี  สุดา  บุปผา  สุรีย์  บรรดา

  จรรยา  นักบวชกำเนิด

  - คำซ้อนออกเสียงหนักทั้ง๒พยางค์

  ซากศพ    ขื่นขม   หลงใหล  หนักเบา  เบิกบาน  ซูบผอม 

  ....................  .....................  .....................  .....................  .....................

  ...................  ....................  .....................  ....................  .....................

  ๓.คำพูดที่เป็น ๓ พยางค์ออกเสียงได้ดังนี้

คำ

หนัก– หนัก-หนัก

เบา-หนัก-หนัก

หนัก-เบา-หนัก

เบา-เบา-หนัก

หินเหล็กไฟ

หินเหล็กไฟ

ร้านอาหาร

ร้านอาหาร

กิริยา

ฝนสั่งฟ้า

กองทัพธรรม

กล้องสำรวจ

กะละมัง

กะละมัง

คำ

หนัก-หนัก-หนัก

เบา-หนัก-หนัก

หนัก-เบา-หนัก

เบา-เบา-หนัก

กุญแจเลื่อน

กุญแจเลื่อน

กรมท่า

มะละกอ

นครบาล

ตั๋วแลกเงิน

กิจกรรม

เครื่องซักผ้า

วนศาสตร์

กรณีแถลงการณ์

สมณะ

กาลักน้ำ

ทนายความ

ปริมาณ

จรรยาบรรณ

บังกะโล

กุมภาพันธ์

  -คำพูดที่มีคำ ๕ พยางค์ ลงเสียงหนักเบาได้ดังนี้

คำ

เบา-หนัก-หนัก-หนัก

หนัก-เบา-หนัก-หนัก

หนัก-หนัก-เบา-หนัก

เบา-หนัก-เบา-หนัก

คณบดี

คมนาคม

สามัญสำนึก

กระเจิดกระเจิง

กระจองอแง

องคาพยพ

กัลยาณี

ภรตศาสตร์

พะเยิบพะยาบ

น้ำส้มสายชู

ทารุณกรรม

อุดมศึกษา

นรกภูมิ

ราชโอรส

คำ

เบา-หนัก-หนัก-หนัก

หนัก-เบา-หนัก-หนัก

หนัก-หนัก-เบา-หนัก

เบา-หนัก-เบาหนัก

โรงพยาบาล

กาลานุกาล

กระตือรือร้น

พาณิชยศิลป์

วิทยาการ

อุปถัมภก

โบราณกาล

ขนบประเพณี

เบา-เบา-หนัก-หนัก

หนัก-เบา-เบา-หนัก

หนัก-หนัก-หนัก-หนัก

กระเช้าสวรรค์

ข้าวแดงแกงร้อน

มรณบัตร

กุศโลบาย

เอกบุรุษ

หมาถูกน้ำร้อน

ชัยเภรี

วัวสันหลังหวะ

ปรมาจารย์

ทองแผ่นเดียวกัน

ภารตะยุทธ์

พรหมวิหาร

น้ำเชี่ยวขวางเรือ

มกราคม

มกราคม

ปัจจุสมัย

ยื่นหมูยื่นแมว

ยกเว้นบางคำประสมกับสระเสียงสั้นแต่ลงเสียงหนัก  มนุษย์  ริยธรรม

  การออกเสียงหนักเบาในภาษาไทยถือว่าไม่มีสำคัญในระดับคำ  แต่มีความสำคัญในระดับประโยค  ขึ้นอยู่กับความหมายและเตนาที่ผู้พูดต้องการสื่อสาร

  โปรดทำแบบทดสอบในหน้าต่อไป

แบบทดสอบ

ชื่อ........................................................................ ชั้น ม ๔/........... เลขที่............

ข้อ

ข้อความ

คำที่เน้นหนัก

เหตุผล เจตนา โต้แย้ง

๑.

ซื้อเสื้อสีแดงไม่ใช่เสื้อสีดำ

๒.

ซื่อเสื้อสีแดงไม่ใช่กระโปรงสีแดง

๓.

ทหาร  เรือมาแล้ว

๔.

ทหารเรือ  มาแล้ว

๕.

อ๋อก็เขาเป็นลูกรัก ของพ่อแม่

ต้องการประชดว่าลูกเกเร

๖.

เขาเดินเล่น  ไม่ได้วิ่ง

๗.

ขนมนี้  อร่อยดีฉันชอบ

๘.

เข้ามาก่อน  จะรีบไปไหน

๙.

ฉันให้เขา  ไม่ได้ขาย

๑๐.

ฉันบอกให้เธอทำ  เดี๋ยวนี้

ไม่ให้โอกาสไปทำวันหลัง

๑๑.

โอ๊ย เหนื่อยจะตายอยู่แล้ว

๑๒.

อย่ามายุ่ง  กับฉันนะ


หมายเลขบันทึก: 537436เขียนเมื่อ 28 พฤษภาคม 2013 18:58 น. ()แก้ไขเมื่อ 28 พฤษภาคม 2013 18:58 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท