การเคลื่อนที่ของดาวเทียม กับ แรงโน้มถ่วง


การเคลื่อนที่ของดาวเทียม

การเคลื่อนที่ของดาวเทียม กับ แรงโน้มถ่วง

        ดาวเทียมโคจรรอบโลกมีเป็นจำนวนมาก ซึ่งแต่ละดวงก็จะทำหน้าที่แตกต่างกันออกไป  เช่น ดาวเทียมสื่อสาร ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา ดาวเทียมสำรวจทรัพยากร เป็นต้น

        อย่างที่เราทราบกันว่า ดาวเทียมโคจรรอบโลกในแนววงกลม หรือเรียกได้ว่าการเคลื่อนที่ของดาวเทียมมีเส้นวิถีหรือเส้นทางการเคลื่อนที่แบบวงโคจรปิด  ซึ่งดาวเทียมแต่ละดวงก็จะมีรัศมีวงโคจรต่างกัน

        การเคลื่อนที่ของดาวเทียมในวงโคจรรอบโลกจะมีแรงที่กระทำต่อดาวเทียมแรงเดียว คือ แรงดึงดูดโน้มถ่วงของโลก ซึ่งมีทิศเข้าหาจุดศูนย์กลางของโลกและชี้เข้าหาจุดศูนย์กลางวงโคจร

        แรงโน้มถ่วงของโลก คือ แรงดึงดูดที่มวลของโลกกระทำกับมวลของวัตถุ เพื่อดึงดูดวัตถุนั้นเข้าสู่ศูนย์กลางของโลก

        ดังนั้น ดาวเทียมเคลื่อนที่เป็นวงกลมสม่ำเสมอและมีอัตราเร็วคงตัว

        ดาวเทียมจะมีรัศมีของวงโคจรจากจุดศูนย์กลางโลก คือ r และมีความเร่ง a ชี้เข้าหาจุดศูนย์กลางวงกลมเสมอ 

        เราสามารถหาอัตราเร็วคงตัวของดาวเทียมในวงโคจร ได้จากกฎความโน้มถ่วง >> แรงสุทธิ(แรงโน้มถ่วง) ที่ทำต่อดาวเทียมมวล m มีขนาด  

และจะได้ว่า     ดังนั้น  

 

 

โดย 

นางสาวกีรติกานต์  สองสี   54010510054 GS

นางสาวจิราพร  วิลาจันทร์  54010510057 GS

นางสาวศศธร  ห่มซ้าย      54010510065  GS

 

หมายเลขบันทึก: 504962เขียนเมื่อ 8 ตุลาคม 2012 20:15 น. ()แก้ไขเมื่อ 5 ธันวาคม 2012 23:21 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)

ถึงว่าสิ

ถ่ายภาพดาวตอนกลางคืน

จึงได้รูปเป็นเส้นโค้ง

   O__O

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท