อ่านก่อน


พันธุกรรม

พันธุกรรม  ระบบนิเวศ  เอกภพ

  1. ในเอกภพที่กว้างใหญ่ประกอบไปด้วย สิ่งต่างๆ ทั้ง ดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ อุกาบาต ฯลฯ รวมถึงเทหวัตถุอีกมากมายที่ล่องลอยอยู่ความมืดดำซึ่งมนุษย์ยังไม่สามารถรู้ ได้ภายใต้อาณาเขตกว้างใหญ่อันไม่สามารถกำหนดขอบเขตสิ้นสุดได้
  2. กาแล็กซี่(Galaxies)หรือที่ภายหลังถูกเรียกขานว่าดาราจักรเป็นอีกส่วนประกอบ หนึ่ง ที่สำคัญของเอกภพ
  3. กาแล็กซี่  ลอยเคว้งคว้างอยู่ท่ามกลางความกว้างใหญ่ของเอกภพ 
  4. ทฤษฎีบิกแบง    เมื่อก่อนเอกภพเป็นเพียงจุดเล็กๆที่ระเบิดขึ้นด้วยพลัง มหาศาลและใช้เวลาเพียงเสี้ยววินาทีการระเบิดครั้งใหญ่หรือบิกแบงทำให้เกิด เป็นเอกภพอันกว้างใหญ่
  5. และวิวัฒนาการเรื่อยมาจนเกิดเป็นหมู่ดาว 
  6. หลัง จากการเกิดบิกแบง มวลสารของพลังงานที่เกิดขึ้นมีความร้อนอย่างมาก แผ่ ออกไปเรื่อยๆ พร้อมกับอุณหภูมิที่เย็นลง
  7. เกิดก๊าซเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะ ฮีเลียม และไฮโดรเจน   ก๊าซเหล่านี้ยังคงเคลื่อนที่ออกจากจุดศูนย์กลางของการระเบิด  เกิดการชนกันและรวมตัวกันจนต่อมาถูกพัฒนาขึ้นจนการเป็นกาแล็กซี่ และเกิดเป็นหมู่ดาวฤกษ์
  8. กาแล็กซี่ทางช้างเผือกเป็นกาแลกซี่ที่เราจะคุ้นชินกับมันมากกว่า กาแล็กซี่อื่น เพราะมันเป็นกาแล็กซี่ที่เราอาศัยอยู่นั้นเอง
  9. กาแล็กซี่เป็นกลุ่มดาวฤกษ์ที่จับกลุ่มรวมกัน เป็นส่วนเล็กๆของเอกภพ
  10. พันธุวิศวกรรม หมายถึง เทคนิคการตัดต่อยีน
  11. ดีเอ็นเอ (DNA): - สารพันธุกรรมที่อยู่ในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต - เก็บข้อมูลรหัสชีวิต ยี
  12. ยีน (Gene): - ส่วนของ DNA หรือหน่วยพันธุกรรม ที่บรรจุรหัส พันธุกรรมสาหรับสร้าง RNA และ โปรตีนซึ่งกาหนด ลักษณะของสิ่งมีชีวิต ที่สามารถถ่ายทอดไปสู่ลูกหลาน
  13. ดีเอ็นเอ (DNA) คือรหัสชีวิต หรือ รหัสพันธุกรรม เกิดจาก การเรียงตัวของนิวคลีโอไทด์ 4 ชนิด คือ A T C G
  14. สิ่งมีชีวิตแตกต่างกันที่ จำนวน (ขนาด) และการเรียง ลำดับของทั้ง 4 อักษร
  15. ยีน คือ บริเวณของ ดีเอ็นเอที่มีรหัสสร้าง โปรตีน

สามารถตัดยีนออกมาจากสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่ง แล้วใส่เข้าในสิ่งมีชีวิตอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งมีกลไกทำให้ยีนจากที่อื่น สามารถทางานได้เช่นเดียวกัน

-GMOs    คือ สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม   เมื่อได้รับยีนจากภายนอกเข้าไป  ซึ่งเกิดจาก เทคนิคการตัดต่อยีน หรือพันธุวิศวกรรมเช่น แบคทีเรีย จุลินทรีย์ พืช สัตว์

  1. การประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรม   เช่น

           -ยา อินซูลิน วัคซีนโรคตับอักเสบ B

-อาหาร เนยแข็ง ที่นามาประกอบอาหารและขนมอบต่างๆ ผลิตโดยเอนไซม์ที่สร้างจากเชื้อรา GMO

 -ผงซักฟอก มีส่วนผสมของเอนไซม์ที่ผลิตจากจุลินทรีย์ GMO การประยุกต์ใช้ด้านสิ่งแวดล้อม

 -สลายคราบน้ำมัน

การปรับปรุงพันธุ์พืชโดยผสมข้ามพันธุ์กับการตัดต่อ DNA (พันธุวิศวกรรม)

สัตว์ดัดแปลงพันธุกรรม  ต้านทานโรค  เจริญเติบโตเร็วขึ้น  ลักษณะเนื้อดีขึ้น  ผลิตน้านม

ผลิตได้มากขึ้น  นมมีคุณภาพมากขึ้น  การผลิตยาหรือวัคซีน

ข้อกังวลของ GMOs 

ความปลอดภัยของการบริโภคระยะยาว

-ความเป็นพิษ

-การเกิดภูมิแพ้

-การดื้อยาปฏิชีวนะ

ทาลายแมลงที่ไม่ใช่ศัตรูเป้าหมาย

-แมลงศัตรูพืชดื้อต่อโปรตีนสารพิษ BT

-ผลกระทบต่อจุลินทรีย์ในดิน

การผสมข้ามพันธุ์ ทาให้สูญเสียพันธุ์ท้องถิ่น

-ต้นทุนการผลิตด้านเมล็ดพันธุ์เพิ่มขึ้น

พืช GM ให้เมล็ดพันธุ์ที่เป็นหมัน

ขณะนี้ได้มีประกาศบังคับติดฉลากสินค้าอาหาร GMOs โดยกระทรวงสาธารณสุข ผลิตภัณฑ์จากถั่วเหลืองและข้าวโพด 22 รายการ ที่มีสารดัดแปรพันธุกรรม หรือโปรตีนจากการดัดแปรพันธุกรรม เพื่อให้ข้อมูลแก่ผู้บริโภค

สรุป GMOs คือ ผลจากการปรับปรุงพันธุ์

ทนทานยาปราบวัชพืช, เพิ่มคุณค่าโภชนาการ

ให้ได้สัตว์ที่อัตราแลกเนื้อสูงขึ้น, ไขมันน้อยลง

ผลิตยารักษาโรคที่ไม่สามารถผลิตได้ด้วยวิธีป

ภาพจาลองการเกิดปรากฏการณ์ดาวศุกร์โคจรผ่านหน้าดวงอาทิตย์ ในวันที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2555 ที่สังเกตการณ์จากประเทศไทย

เทคโนโลยีในการผลิตพลังงานชีวภาพจากสาหร่าย

•สาหร่ายขนาดเล็ก โดยเฉพาะสาหร่ายสีเขียว ขยายพันธุ์เร็ว มีศักยภาพที่จะเป็นแหล่งพลังงานใหม่เพื่อทดแทนพลังงานจากปิโตรเลียมได้ ใช้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มากเพื่อสังเคราะห์ด้วยแสง จึงสามารถช่วยลดคาร์บอนไดออกไซด์จากอากาศ

•ข้อได้เปรียบคือ ประเทศไทยมีอุณหภูมิและแสงสว่างที่เหมาะสมต่อการเลี้ยงสาหร่ายตลอดปี

•สกัดน้ามันจากสาหร่าย มาผลิตไบโอดีเซล

เชื้ออีโคไลที่ทาให้เกิดความเจ็บป่วยและทาให้อาหารเป็นพิษได้ อาจเป็นปัจจัยสาคัญในการพัฒนาพลังงานหมุนเวียนในอนาคตได้ไม่ว่าจะเป็น บิวทานอล ไบโอดีเซล สารเคมีสาหรับอุตสาหกรรมปิโตรเคมี หรือแม้แต่กระแสไฟฟ้า ซึ่งสามารถทาได้โดยการดัดแปลงพันธุกรรมเชื้ออีโคไล

•มีการศึกษาการตัดต่อพันธุกรรมอิโคไล

เพื่อผลิตกรดไขมันที่เป็นวัตถุดิบสาหรับผลิตไบโอดีเซล

จุลินทรีย์กับพลังงาน

เชื้ออีโคไลที่ทาให้เกิดความเจ็บป่วยและทาให้อาหารเป็นพิษได้ อาจเป็นปัจจัยสาคัญในการพัฒนาพลังงานหมุนเวียนในอนาคตได้ไม่ว่าจะเป็น บิวทานอล ไบโอดีเซล สารเคมีสาหรับอุตสาหกรรมปิโตรเคมี หรือแม้แต่กระแสไฟฟ้า ซึ่งสามารถทาได้โดยการดัดแปลงพันธุกรรมเชื้ออีโคไล

•มีการศึกษาการตัดต่อพันธุกรรมอิโคไล

เพื่อผลิตกรดไขมันที่เป็นวัตถุดิบสาหรับผ

คำสำคัญ (Tags): #ิิ
หมายเลขบันทึก: 503576เขียนเมื่อ 26 กันยายน 2012 14:05 น. ()แก้ไขเมื่อ 26 กันยายน 2012 14:05 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท