รัฐธรรมนูญกับการเมือง เรื่องที่เกี่ยวเนื่องกัน


 

            รัฐธรรมนูญไทยในท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงอันบ่อยครั้งอันเนื่องมาจากการเมือง เรื่องเหล่านี้มีความเกี่ยวข้องกันบนความพยายามที่จะให้รัฐธรรมนูญเป็นเครื่องมือในการกำกับการเมือง และการเมืองก็ใช้ความพยายามในการเปลี่ยนแปลงรัฐธรรมนูญ จากประวัติศาสตร์อันยาวนานที่เป็นหลักฐานเชิงประจักษ์ในการเปลี่ยนแปลง แก้ไข ยกเลิกรัฐธรรมนูญ มาจนถึงฉบับปัจจุบัน จึงนำสาระที่สำคัญบางส่วนมาสรุปเพื่อเป็นจุดกระแสความคิดเห็นแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันต่อไป

 

 

รัฐธรรมนูญกับการเมืองไทย

1 แนวคิด         รัฐธรรมนูญนิยม (Constitutionalism)

อเมริกายกร่างรัฐธรรมนูญพูดเพียงผู้ปกครองเป็นใคร สภาคองเกรสมาจากอะไร เขียนไม่มาก พอร่างเสร็จให้รัฐ ต่างๆไปอ่านเพื่อทำสัตยาบรรณ มีคนบางคนว่าไม่เขียนว่าสิทธิของปชชเมีอะไรบ้าง จึงยอมให้เขียน เป็นการแก้ไขครั้งแรก ที่เรียก first amenment รัฐบาลออกกฏหมายจำ กัดการชุมนุมโดยปราศจาคอาวุธ การโฆษณา เผยแพร่สิ่งพิมพ์ สิทธิในการนับถือศาสนา การยอมรับซึ่งกันและกันจะใช้เสรีภาพได้มากน้อยแค่ไหน หากเกินขอบเขตจะให้ศาลตีความ

 

บางอย่างเป็นประเพณีไม่มีกฏหมายกำหนด

1.1 รัฐธรรมนูญกับการไม่เสถียรภาพทางการเมืองไทย

1.2 ตั้งแต่ปี 2475 มาเรามีรัฐธรรมนูญมาแล้ว 18 ฉบับ

1.2.1 มีการยึดอำนาจ

ยกเลิกรัฐนูญเก่า และใช้ฉบับใหม่

1.2.2 มีการเปลี่ยนแปลงโดยฝ่ายพลเรือน  พ.ค. 89 แต่ีมีอายุเพียงปีเดียว จอมพลผิน ยึดอำนาจ

1.3 ในแง่หลัักการเรายอมรับการเป็น กฏหมายสูงสุดต่อการปฏิบัติมัก ไม่เป็นอย่างนั้น

1.3.1 มีการตีความให้นักการเมืองใช้ ตีความให้เข้ากับผลประโยชน์แต่ละกลุ่ม

1.3.2 ชินกับการตีความตามตัวอักษร แต่เจตนารมย์เป็นอย่างไรไม่ได้สนใจ

1.4 รัฐธรรมนูญมีทั้งฉบับเผด็จการ รัฐธรรมนูญครึ่งใบ เต็มใบ

2 รัฐนูญฉบับปัจจุบัน (พ.ศ.2550) กับการปฏิรูป การเมืองต้องการให้รัฐธรรมนูญ ปฏิรูปการเมือง

2.1 สิทธิเสรีภาพมีคุ้มครองไว้ ค่อนข้างสมบูรณ์ มีตั้งแต่ ความเสมอภาคสิทธิเสรีภาพส่วนบุคคล เสรีภาพในการชุมนุม ไปจนถึงสิทธิพิทักษ์รัฐธรรมนูญ

เมื่อก่อนไม่มีที่เขียนไว้เพื่อป้องกันการยึดออำนาจ แต่ก็กันไม่ได้เพราะเมื่อยึดอำนาจก็ฉีกรัฐธรรมนูญทิ้ง

 

ม.25 การใช้อำนาจโดยองค์กรต้องคำนึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์

Human Dignity

มาจากเยอรมันที่นาซีกระทำ

2.2 ม.27 สิทธิเสรีภาพผูกพันทุกหน่วยงาน

2.3 ม.29จำกัดสิทธิเสรีภาพไม่ได้ ยกเว้นการจำกัตต้องเป็นไปตาม กฏหมายเฉพาะกาล

2.4 สิทธิเสรีภาพทางกศ.

2.4.1 สิทธิเสมอกันไม่น้อยกว่า ๑๒ ปี อย่างทั่วถึงมีคุณภ่าใช้จ่ายาพโดยไม่เสีย ค่าใช้จ่าย

2.4.2 Subtopic

2.5 เสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบ

หมอบางปท.หมอหยุดงานโดยไม่รักษาคนไข้

คนเก็บขยะไม่เก็บขยะ

เมืองไทยคงรับไม่ได้

 

 

2.6 สิทธิชุมชน

หลายแห่ง NGO เข้ามามีบทบาทมาก

2.6.1 อนุรักษ์ฟื้นฟูจารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปวัฒนธรรม ของท้องถิ่นและของชาติ

2.6.2 การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ

2.7 สิทธิในการพิทักษ์รัฐธรรมนูญ

กฏหมายอาญาเขียนไว้เป็ขบฏ

2.7.1 กระทำผิด พรรคการเมืองถูกสั่งยุุบพรรคได้

3 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ

Pro and Con

3.1 รัฐต้องดำเนินการ ตามแนวนโยบายบริหาร ราชการแผ่นดิน

อินเเดีย กำหนด

 
คำสำคัญ (Tags): #รัฐธรรมนูญ
หมายเลขบันทึก: 500522เขียนเมื่อ 29 สิงหาคม 2012 09:22 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2012 22:49 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (16)

เรื่องรัฐธรรมนูญไทย เป็นเรื่องที่คนไทยต้องเรียนรู้ไปตลอดชีวิตค่ะ

รับทราบครับ ขอขอบพระคุณความรู้ที่ได้รับ

น่าสนใจค่ะ แต่อดคิดไม่ได้ว่า..จะมีประชาชนคนไทยจำนวนเท่าไหร่ที่เข้าใจถึงความสำคัญของคำว่า "รัฐธรรมนูญ" และ "ประชาธิปไตย" =.="

เพราะบางกลุ่มจะเรียกร้องสิทธิแต่ของตนเองจนลืมไปว่าตัวเองละเมิดสิทธิคนอื่นเขาถ้าคนไม่เห็นแก่ต้วทุกอย่างในโลกนี้คงไม่มีสิ่งตรงข้าม ขอบคุณที่ผอ.นำความรู้มาให้ค่ะ

เคยสอนนักศึกษาระดับ ปวช.หยุดสอนมาหลายปีได้ทบทวนความรู้เดิมเริ่มกลับมาอีกแล้ว ขอบคุณครับ

เรื่องรัฐธรรมนูญเป็นเรื่องที่ทุกคนน่าจะศึกษาไปและทำความเข้าใจให้มากขึ้น

ขอบคุณทุกท่านครับที่มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และให้ดอกไม้

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท