การจัดการความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรมเพื่อการเปลี่ยนแปลง


การเรียนรู้วิทยาศาสตร์นอกสถานที่

การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่นักเรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์ตรง ได้พบ ได้เห็น ได้กระทำด้วยตนเอง ทำให้นักเรียนได้เรียนรู้อย่างมีความสุข มีความอยากรู้อยากเห็น เกิดความคิด ความรู้ที่ยั่งยืน เพราะกิจกรรมบางอย่าง เนื้อหาบางเรื่องต้องให้นักเรียนได้สัมผัสโดยตรง ซึ่งต้องมีการลงทุน และต้องมีเวลา สำหรับการศึกษาของเราซึ่งเป็นโรงเรียนขนาดเล็ก อุปกรณ์ไม่พร้อม มีเวลาเรียนตามชั่วโมงเรียนสัปดาห์ละ 2 ชั่วโมง ก็น่าจะส่งผลกระทบถึงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทางวิทยาศาสตร์ด้วย ฉะนั้นตอนนี้รัฐบาลได้จัดงบสนับสนุนการศึกษานอกสถานที่ ถ้าหากเราได้นำกิจกรรมดังกล่าวมาจัดการวางแผนกับการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์นอกห้องเรียนให้เหมาะสม เหมือนกับกิจกรรมในโทรทัศน์ครูถ้าทำได้จะดีมาก

เขียนใน GotoKnow โดย 
 ใน AOF
คำสำคัญ (Tags): #นวัตกรรม
หมายเลขบันทึก: 500108เขียนเมื่อ 26 สิงหาคม 2012 04:31 น. ()แก้ไขเมื่อ 26 สิงหาคม 2012 10:26 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

การจัดการ.....ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม....เพื่อการเปลี่ยนแปลง

  - เด็กได้เรียนรู้จากประสบการณ์ตรง

  - ได้พบ ได้เห็น ได้กระทำด้วยตนเอง

  - ได้เรียนรู้อย่างมีความสุข

  - มีความอยากรู้....อยากเห็น

  - เกิดความคิด และอนาคตจะเป็นความรู้ที่ยั่งยืน

 

ขอบคุณที่แบ่งปันความรู้ดีดีนี้นะคะ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท