วันแม่แห่งชาติ


ความเป็นมาของการสถาปนาวันแม่แต่ละชนชาติ

วันแม่ เป็นวันที่สำคัญในหลายประเทศทั่วโลกจัดขึ้นเพื่อให้เกียรติแม่และความเป็นแม่ ในประเทศไทยวันแม่แห่งชาติ ตรงกับวันที่ 12 สิงหาคม ของทุกปี ในประเทศอื่นทั่วโลกวันแม่จะอยู่ในช่วง เดือนมีนาคมถึงพฤษภาคม ส่วนในอังกฤษและไอร์แลนด์วันแม่ถูกจัดขึ้นต่อจากวันอาทิตย์แห่งความเป็นแม่ซึ่งเป็นวันสำคัญของศาสนาคริสต์

วันสำคัญที่ให้ระลึกถึงความเป็นพ่อถูกเรียกว่าวันพ่อ

ประวัติ

ในวานเปตรยุคโรมันโบราณมีวันหยุดที่คล้ายกันคือ มาโตรนาเลีย ซึ่งเป็นวันที่ระลึกถึงเทพีจูโน เทพีผู้พิทักษ์ ส่วนในยุโรปมีประวัติเกี่ยวกับวันแม่ที่หลากหลาย ตัวอย่างเช่น วันอาทิตย์แห่งความเป็นแม่ (Mothering Sunday) ซึ่งเป็นวันสำคัญของศาสนาคริสต์ ในสหรัฐอเมริกาได้มีการผลักดันให้มีการฉลองวันแม่ภายหลังสงครามกลางเมืองอเมริกัน โดย จูเลีย วอร์ด ฮาว โดยมีความเชื่อว่าเพศหญิงเป็นส่วนหนึ่งในการช่วยสร้างสังคม วันผู้หญิงนานาชาติได้มีการเฉลิมฉลองครั้งแรกเมื่อ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2452 ในสหรัฐอเมริกา[1] ซึ่งในเวลาใกล้เคียงกัน แอนนา ยาร์วิสได้เริ่มผลักดันให้มีการเฉลิมฉลองวันแม่ในสหรัฐอเมริกา

 

วันแม่ในประเทศต่าง ๆ

ประเทศอื่น ๆ ก็มีการกำหนดวันแม่ไว้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างเช่น สหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่น ใช้วันอาทิตย์ที่สองของเดือนพฤษภาคม ประเทศรัสเซียใช้วันที่ 28 พฤศจิกายน เป็นต้น ทั้งนี้บางประเทศมีการเฉลิมฉลองในวันสตรีสากล

ประเทศญี่ปุ่น

ในญี่ปุ่น ปี 1931 (หรือปีโชวะที่ 6) องค์กร สตรีสูงสุดของญี่ปุ่นได้ตั้ง วันที่ 06 มีนาคม ซึ่งเป็นวันฉลองพระราชสมภพ ของ พระราชินี คาโอรุ มาโคโตะ (Empress Kaoru Makoto) เป็น "วันแม่" ต่อมาในปี 1937 วันที่ 5 พฤษภาคม (หรือปีโชวะที่12 ) และได้เปลี่ยนแปลงอีกครั้งเมื่อ (ได้รับการสนับสนุนโดยคณะกรรมการกลางให้จัดตั้งวันแม่) ขึ้นใหม่ในปี 1949 (หรือปีโชวะที่24 ) โดยมาจัดขึ้นในวันอาทิตย์ที่สองในเดือนพฤษภาคม ตามประเทศสหรัฐอเมริกาและอีกหลายๆประเทศ

ทั้งนี้ วันเด็ก 5 พฤษภาคม เป็นวันหยุดนักขัตฤกษ์ (วันหยุดแห่งชาติตามกฎหมาย) "เพื่อให้เด็กได้มีความสุขกับครอบครัวและ ยังมีวัตถุประสงค์เพื่อขอบคุณแม่ที่ทำให้เราได้เกิดมาอีกด้วย

ในวันแม่ ปกติประเทศญี่ปุ่นจะให้ดอกคาร์เนชั่นแต่เมื่อเร็ว ๆ นี้ ไม่เพียงดอกคาร์เนชั่นเท่านั้น แต่ดอกกุหลาบสีชมพูและดอกเยอบิร่า ก็ให้ได้เช่นกัน

 

ประเทศไทย

ในประเทศไทย เดิมมีการจัดงานวันแม่ โดยสำนักวัฒนธรรมฝ่ายหญิง สภาวัฒนธรรมแห่งชาติ ตรงกับวันที่ 15 เมษายน ของทุกปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2493 ตามมติคณะรัฐมนตรี ลงวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2493 ในคณะรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม[2] ต่อมาในปี พ.ศ. 2519 ได้เปลี่ยนมาเป็นวันที่ 12 สิงหาคม ตรงกับวันเฉลิมพระชนมพรรษาในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พร้อมกับได้กำหนดให้ดอกมะลิเป็นดอกไม้สัญลักษณ์แทนวันแม่ เนื่องจากเป็นดอกไม้ที่มีสีขาว มีกลิ่นหอมและออกดอกได้ตลอดทั้งปี เปรียบได้กับความรักอันบริสุทธิ์ของแม่ที่มีต่อลูก[3]

 

วันแม่นานาชาติ

 

ปฏิทินเกรโกเรียน
ทุกวันที่ วันที่ ประเทศ
2 กุมภาพันธ์   ธงชาติของกรีซ กรีซ
วันอาทิตย์ที่สองของเดือนกุมภาพันธ์ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552
14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
ธงชาติของนอร์เวย์ นอร์เวย์
Shevat 30
(อาจมีขึ้นในวันที่ 30 มกราคม และ 1 มีนาคม)
  ธงชาติของอิสราเอล อิสราเอล
3 มีนาคม   ธงชาติของประเทศจอร์เจีย จอร์เจีย
8 มีนาคม   ธงชาติของอัฟกานิสถาน อัฟกานิสถาน
ธงชาติของแอลเบเนียแอลเบเนีย
ธงชาติของประเทศอาร์เมเนีย อาร์เมเนีย
ธงชาติของอาเซอร์ไบจาน อาเซอร์ไบจาน
ธงชาติของเบลารุส เบลารุส
ธงชาติของบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
ธงชาติของบัลแกเรีย บัลแกเรีย
ธงชาติของคาซัคสถาน คาซัคสถาน
ธงชาติของลาว ลาว
Flag of the Republic of Macedonia มาซิโดเนีย
ธงชาติของมอลโดวา มอลโดวา
ธงชาติของมอนเตเนโกร มอนเตเนโกร
ธงชาติของโรมาเนีย โรมาเนีย
ธงชาติของรัสเซีย รัสเซีย†*
ธงชาติของเซอร์เบีย เซอร์เบีย
ธงชาติของยูเครน ยูเครน
 
วันอาทิตย์ที่สี่ในฤดูถือบวชเล็นท์ 22 มีนาคม พ.ศ. 2552
14 มีนาคม พ.ศ. 2553
Flag of Ireland ไอร์แลนด์
ธงชาติของไนจีเรีย ไนจีเรีย
Flag of the United Kingdom สหราชอาณาจักร
21 มีนาคม
(ฤดูใบไม้ผลิ วิษุวัต)
  ธงชาติของบาห์เรน บาห์เรน
ธงชาติของอียิปต์ อียิปต์
ธงชาติของจอร์แดน จอร์แดน
ธงชาติของคูเวต คูเวต
ธงชาติของลิเบีย ลิเบีย
ธงชาติของเลบานอน เลบานอน
ธงชาติของโอมาน โอมาน
Palestinian flag ปาเลสไตน์
ธงชาติของซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย
ธงชาติของซูดาน ซูดาน
ธงชาติของโซมาเลีย โซมาเลีย
ธงชาติของซีเรีย ซีเรีย
Flag of the United Arab Emirates สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
ธงชาติของเยเมน เยเมน (ประเทศFlag of the League of Arab States อาหรับทั้งหมด โดยปกติ)
25 มีนาคม   ธงชาติของสโลวีเนีย สโลวีเนีย
7 เมษายน   ธงชาติของประเทศอาร์เมเนีย อาร์เมเนีย
24 เมษายน +/- 5 วัน Baisakh Amavasya (Mata Tirtha Aunsi)   ธงชาติของเนปาล เนปาล
วันอาทิตย์แรกของเดือนพฤษภาคม 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2552
2 พฤษภาคม พ.ศ. 2553
ธงชาติของฮังการี ฮังการี
ธงชาติของลิทัวเนีย ลิทัวเนีย
ธงชาติของโมซัมบิก โมซัมบิก
ธงชาติของโปรตุเกส โปรตุเกส
ธงชาติของมาเก๊า มาเก๊า
ธงชาติของสเปน สเปน
8 พฤษภาคม   ธงชาติของแอลเบเนีย แอลเบเนีย (วันครอบครัว)
ธงชาติของเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ (วันครอบครัว)
10 พฤษภาคม   ธงชาติของเอลซัลวาดอร์ เอลซัลวาดอร์
ธงชาติของกัวเตมาลา กัวเตมาลา
ธงชาติของเม็กซิโก เม็กซิโก
วันอาทิตย์ที่สองของเดือนพฤษภาคม 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2552
9 พฤษภาคม พ.ศ. 2553
8 พฤษภาคม พ.ศ. 2554
ธงชาติของแองกวิลลา แองกวิลลา
ธงชาติของอารูบา อารูบา
ธงชาติของออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
ธงชาติของออสเตรีย ออสเตรีย
Flag of the Bahamas Bahamas
ธงชาติของบังกลาเทศ บังกลาเทศ
ธงชาติของบาร์เบโดส Barbados
ธงชาติของเบลเยียม เบลเยียม
ธงชาติของเบลีซ Belize
ธงชาติของเบอร์มิวดา เบอร์มิวดา
ธงชาติของโบแนร์ Bonaire
ธงชาติของบราซิล บราซิล
ธงชาติของบรูไน บรูไน
ธงชาติของบัลแกเรีย บัลแกเรีย
ธงชาติของแคนาดา แคนาดา
ธงชาติของชิลี ชิลี
Flag of the People's Republic of China สาธารณรัฐประชาชนจีน[4]
ธงชาติของสาธารณรัฐจีน สาธารณรัฐจีน
ธงชาติของโคลอมเบีย Colombia
ธงชาติของโครเอเชีย โครเอเชีย
<spa
หมายเลขบันทึก: 498053เขียนเมื่อ 10 สิงหาคม 2012 11:47 น. ()แก้ไขเมื่อ 10 สิงหาคม 2012 11:55 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท