การสวดมนต์และอานิสงค์


สิ่งดีๆที่ทุกคนมักมองไม่เห็น

สิ่งที่เรียนรู้ (What) :การสวดมนต์เพื่อทำให้เกิดกุศล และการทำสมาธิขณะสวดมนต์

วิธีการเรียนรู้ (How): ฐานะที่พวกชาวพุทธศาสนิกชน สิ่งที่ควรปฏิบัติคือการนั่งสมาธิ สวดมนต์ การทำความดีทั้งกาย วาจา ใจ นั้นถือว่าเป็นสิ่งสำคัญเพราะเป็นการสร้างแต่กรรมดีให้เกิดขึ้นกับตัวเราซึ่งเป็นการสร้างบุญที่ทำให้เรามีความสุขทั้งทางกายและจิตใจ เรามาดูกันก่อนว่า สิงที่เราสวดมนต์มีสิ่งใดที่ดีๆ เกิดกับตัวเราบ้าง 

๑. การสวดมนต์ทุกวันเป็นมงคลแก่ตนเองและครอบครัว

๒. เป็นการบำเพ็ญภาวนาอย่างหนึ่ง

๓. ทำให้จิตบังเกิดกุศลได้ง่าย

๔. ทำให้ใจสงบสุข

๕. เหมาะสำหรับการเตรียมตัวก่อนปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน

๖. เป็นบุญที่ได้กล่าวคำศักดิ์สิทธิ์ที่พระพุทธเจ้าบัญญัติไว้

๗. สวดมนต์เพื่อถวายเป็นพุทธบูชา

๘. เพื่อป้องกันภัยวิบัติ

๙. เพื่อความสำเร็จในสมบัติทั้งปวง

๑๐. เพื่อให้ทุกข์ต่าง ๆ หมดไป

๑๑. เป็นการขจัดภัยต่าง ๆ

๑๒. เพื่อบรรเทาความเจ็บป่วยต่าง ๆ

ซึ่งการสวดมนต์ก็จะมีวิธีการสวดให้เริ่มสวด ตั้งแต่บทบูชาพระรัตนตรัย กราบพระรัตนตรัย นสัมการพระรัตนรัย ( นะโม ๓ จบ ) คำขอขมาพระรัตนตรัย ไตรสรณคมณ์ ถวายพรพระ ( อิติปิ โสฯ ) พุทธชัยมงคลคาถา ( พาหุงฯ ) เพียง ๑ จบ จากนั้นให้สวดอิติปิ โสฯ เท่าอายุบวกด้วย ๑ เสร็จแล้วให้แผ่เมตตาให้ตนเอง แผ่เมตตาให้สรรพสัตว์ แผ่ส่วนกุศล เสร็จแล้วจึงอธิษฐานตามสิ่งที่ปรารถนา จากนั้นจึงสวดพระคาถาและบทสวนอื่น ๆ ในส่วนตัวของผู้เขียนเองจะสวดคาถาพระชินบัญชร  บารมี 30 ทัศ จุลชัยมงคลคาถา(ชัยน้อย) บทปลงสังขาร เป็นต้น

บูชาพระรัตนตรัย
อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง อภิปูชะยามิ
อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง อภิปูชะยามิ
อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง อภิปูชะยามิ

บทกราบพระรัตนตรัย
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา
พุทธังภะคะวันตัง อภิวาเทมิ (กราบ)

สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
ธัมมัง นะมัสสามิ (กราบ)

สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
สังฆัง นะมามิ (กราบ)

นมัสการพระรัตนตรัย
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ (สวด ๓ จบ)

ขอขมาพระรัตนตรัย
วันทามิ พุทธัง, สัพพะ เมโทสัง, ขะมะถะเม ภันเต,

วันทามิ ธัมมัง,สัพพะเมโทสัง, ขะมะถะเม ภันเต,

วันทามิ สังฆัง, สัพพะ เมโทสัง, ขะมะถะเม ภันเต

ไตรสรณคมน์
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

ถวายพรพระ (อิติปิโสฯ)
อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ (พุทธคุณ)

สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ (อ่านว่า วิญญูฮีติ) (ธรรมคุณ)

สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ (สังฆคุณ)

พุทธชัยมงคลคาถา (พาหุงฯ)
พาหุงสะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม* ชะยะมังคะลานิ

มาราติเรกะมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันตีสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม* ชะยะมังคะลานิ

นาฬาคิริง คะชะวะรังอะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม* ชะยะมังคะลานิ

อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะ สุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม* ชะยะมังคะลานิ

กัตตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม* ชะยะมังคะลานิ

สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม* ชะยะมังคะลานิ

นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต อิทธูปะเทสะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม* ชะยะมังคะลานิ

ทุคคาหะทิฏฐิภุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง (อ่านว่า พรัมมัง) วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม* ชะยะมังคะลานิ

เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฏฐะคาถา โยวาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะ เนกะวิวิธานิ จุปัททะวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ

(* ถ้าสวดให้คนอื่น ให้เปลี่ยนจากคำว่า เม เป็น เต)

ชัยปริตร (มหากาฯ)
มะหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เม* ชะยะมังคะลัง ฯ

ชะยันโตโพธิยา มูเล สักยานัง นันทิ วัฑฒะโน เอวัง อะหัง วิชะโย โหมิ (ถ้าสวดให้คนอื่นเปลี่ยนเป็น ตะวัง วิชะโย โหหิ) ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล

อะปะราชิตะ ปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะพุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะ ติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏ ฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะ (อ่านว่า พรัมมะ) จาริสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มะโนกัมมัง ปะณิธีเต ปะทักขิณา ปะ ทักขิณา นิ กัตวานะ ละภันตัตเถ ปะทักขิเณ ฯ

ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะ เทวะตา สัพพะพุทธานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวัน ตุ เม* ฯ

ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะ เทวะตา สัพพะธัมมานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวัน ตุ เม* ฯ

ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะ เทวะตา สัพพะสังฆานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวัน ตุ เม* ฯ

อิติปิโส เท่าอายุ
อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมา สัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ

(ให้สวดเกินอายุ ๑ จบ เช่น อายุ ๔๒ ปี ต้องสวด ๔๓ จบ)

บทแผ่เมตตาแก่ตนเอง
อะหัง สุขิโต โหมิ ขอให้ข้าพเจ้ามีความสุข

นิททุกโข โหมิ ปราศจากความทุกข์

อะเวโร โหมิ ปราศจากเวร

อัพยาปัชโฌ โหมิ ปราศจากอุปสรรคอันตรายทั้งปวง

อะนีโฆ โหมิ ปราศจากความทุกข์กายทุกข์ใจ

สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ มีความสุขกายสุขใจ รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งสิ้นเถิด

บทแผ่เมตตาให้สรรพสัตว์
สัพเพ สัตตา สัตว์ทั้งหลายที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิดแก่เจ็บตาย ด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้น

อะเวรา โหนตุ จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีเวรแก่กันและกันเลย

อัพะยาปัชฌา โหนตุ จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้เบียดเบียนซึ่งกันและกันเลย

อะนีฆา โหนตุ จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีความทุกข์กาย ทุกข์ใจเลย

สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ จงมีความสุขกาย สุขใจ รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งสิ้น เถิด ฯ

บทแผ่ส่วนกุศล
อิทัง เม มาตาปิตูนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ มาตาปิตะโร
ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จ แก่มารดาบิดาของข้าพเจ้า ขอให้มารดาบิดาของข้าพเจ้า มีความสุข

อิทัง เม ญาตีนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ ญาตะโย
ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จ แก่ญาติทั้งหลายของข้าพเจ้า ขอให้ญาติทั้งหลายของข้าพเจ้ามีความสุข

อิทัง เม คุรูปัชฌายาจริยานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ คุรูปัชฌายาจริยา
ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จ แก่ครูอุปัชฌาย์อาจารย์ของข้าพเจ้า ขอให้ครูอุปัชฌาย์อาจารย์ของข้าพเจ้า มีความสุข

อิทัง สัพพะเทวะตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพเทวา
ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จ แก่เทวดาทั้งหลายทั้งปวง ขอให้เทวดาทั้งหลายทั้งปวง มีความสุข

อิทัง สัพพะเปตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ เปตา
ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จ แก่เปรตทั้งหลายทั้งปวง ขอให้เปรตทั้งหลายทั้งปวง มีความสุข

อิทัง สัพพะเวรีนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพเวรี
ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จ แก่เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลายทั้งปวง ขอให้เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลายทั้งปวง มีความสุข

อิทัง สัพพะสัตตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ สัตตา
ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จ แก่สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ขอให้สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง มีความสุขทั่วหน้ากันเทอญ

กรวดน้ำให้เจ้ากรรมนายเวร
ข้าพเจ้าขออุทิศบุญกุศล จากการเจริญภาวนานี้ให้แก่เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลายของข้าพเจ้า ที่ข้าพเจ้าได้เคยล่วงเกินท่านไว้ ตั้งแต่อดีตชาติจนถึงปัจจุบันชาติ ท่านจะอยู่ภพใดหรือภูมิใดก็ตาม ขอให้ท่านได้รับผลบุญนี้ แล้วโปรดอโหสิกรรม และอนุโมทนาบุญแก่ข้าพเจ้าด้วยอำนาจบุญนี้ด้วยเทอญ

วิธีสวดพระคาถาชินบัญชร
การเริ่มต้นสวดภาวนาให้หาวันดีคือ วันพฤหัสบดีเป็นวันเริ่มต้น โดยน้อมนำดอกไม้ ธูปเทียนถวายบูชาคุณพระรัตนตรัยและดวงพระวิญญาณอันศักดิ์สิทธิ์ของเจ้าประคุณสมเด็จฯ ถ้าไปที่วัดระฆังได้ก็ยิ่งดี

ถ้าไปไม่ได้ก็ให้ระลึกถึงท่านและหันหน้าไปทางวัดระฆังก็ใช้ได้ เมื่อบูชาพระรัตนตรัยและดวงวิญญาณของเจ้าประคุณสมเด็จแล้ว จึงเริ่มต้นสวด โดยอ่านบทสวดให้ได้ ๑ จบ ก็เป็นอันเสร็จพิธี

พระคาถาชินบัญชร (ย่อ)
ชินะปัญชนะระ ปะริตตังมัง รักขะตุสัพพะทา

หรือ

วิญญาณสัมปันโน อิติปิโสภะคะวา นะโมพุทธายะ

(สวด 9 จบ)

พระคาถาชินบัญชร
ก่อนที่เจริญภาวนาให้ตั้งนะโม 3 จบ แล้วระลึกถึงเจ้าประคุณสมเด็จด้วยคำว่า

ปุตตะกาโมละเภปุตตัง ธะนะกาโมละเภธะนัง อัตถิกาเยกายะญายะ เทวานังปิยะตังสุตตะวา อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ

ชะยาสะนากะตา พุทธา เชตะวา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุง นะราสะภา

ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเก เต มุนิสสะรา

สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร

หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะ ทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก

ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะราหุลา กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก

เกเสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโยวะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภีโต มุนิปุงคะโว

กุมาระกัสสะโป เถโร มะเหสี จิตตะวาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิ คุณากะโร

ปุณโณ อังคุลิมาโล จะ อุปาลีนันทะสีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเฏ ติละกา มะมะ

เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา

ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะสุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง

ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะสุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา

ชินาณาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะลังกะตา วาตะปิตตาทิสัญชาตา พาหิรัชฌัตตุปัททะวา

อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะเตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร

ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮีตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา

อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโค สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ

ชินะปัญชะเรติ ฯ

(ชินะปัญชะระคาถา นิฏฐิตา)

ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก
๑. อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง วะตะ โส ภะคะวา.
อิติปิ โส ภะคะวา สัมมาสัมพุทโธ วะตะโส ภะคะวา.
อิติปิ โส ภะคะวา วิชชาจะระณะ สัมปันโน วะตะ โส ภะคะวา.
อิติปิ โส ภะคะวา สุคะโต วะตะ โส ภะคะวา.
อิติปิ โส ภะคะวา โลกะวิทู วะตะ โส ภะคะวา.
อะระหันตัง สะระณัง คัจฉามิ.
อะระหันตัง สิระสา นะมามิ.
สัมมาสัมพุทธัง สะระณัง คัจฉามิ.
สัมมาสัมพุทธัง สิระสา นะมามิ.
วิชชาจะระณะสัมปันนัง สะระณัง คัจฉามิ.
วิชชาจะระณะสัมปันนัง สิระสา นะมามิ.
สุคะตัง สะระณัง คัจฉามิ.
สุคะตัง สิระสา นะมามิ.
โลกะวิทัง สะระณัง คัจฉามิ.
โลกะวิทัง สิระสา นะมามิ.

๒. อิติปิ โส ภะคะวา อะนุตตะโร วะตะ โส ภะคะวา.
อิติปิ โส ภะคะวา ปุริสะทัมมะสา ระถิ วะตะ โส ภะคะวา.
อิติปิ โส ภะคะวา สัตถา เทวะมะนุสสานัง วะตะ โส ภะคะวา.
อิติปิ โส ภะคะวา พุทโธ วะตะ โส ภะคะวา.
อะนุตตะรัง สะระณัง คัจฉามิ.
อะนุตตะรัง สิระสา นะมามิ.
ปุริสะทัมมะสาระถิ สะระณัง คัจฉามิ.
ปุริสะทัมมะสาระถิ สิระสา นะมามิ.
สัตถา เทวะมะนุสสานัง สะระณัง คัจฉามิ.
สัตถา เทวะมะนุสสานัง สิระสา นะ มามิ.
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ.
พุทธัง สิระสา นะมามิ.
อิติปิ โส ภะคะวาฯ

๓. อิติปิ โส ภะคะวา รูปะขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมิ จะ สัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา เวทะนาขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมิ จะ สัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา สัญญาขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมิ จะ สัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา สังขาระขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมิ จะ สัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา วิญญาณะขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมิ จะ สัมปันโน.

๔. อิติปิ โส ภะคะวา ปะฐะวี ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา อาโป ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา เตโช ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา วาโย ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา อากาสะ ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา วิญญาณะ ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา จักกะวาฬะ ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.

๕. อิติปิ โส ภะคะวา จะตุมมะหาราชิกา ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา ตาวะติงสา ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา ยามา ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา ตุสิตา ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา นิมมานะระตี ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา ปะระนิมมิตะวะสะ วัตตี ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา กามาวะจะระ ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา รูปาวะจะระ ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา อะรูปาวะจะระ ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา โลกุตตะระ ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.

๖. อิติปิ โส ภะคะวา ปะฐะมะฌานะ ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา ทุติยะฌานะ ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา ตะติยะฌานะ ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา จะตุตถะฌานะ ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา ปัญจะมะฌานะ ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.

๗. อิติปิ โส ภะคะวา อากาสานัญจา ยะตะนะ ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา วิญญานัญจา ยะตะนะ ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา อากิญจัญญา ยะตะนะ ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา เนวะสัญญานาสัญญายะตะนะ ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.

๘. อิติปิ โส ภะคะวา โสตาปัตติ มัคคะ ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิโส ภะคะวา สะกิทาคามิมัคคะ ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา อะนาคามิคัคคะ ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัตตะมัคคะ ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา โสตาปัตติผะละ ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา สะกิทาคามิผะละ ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา อะนาคามิผะละ ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัตตะผะละ ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.

๙. กุสะลาธัมมา อิติปิ โส ภะคะวา อะอา ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ชัมภูทีปัญจะ อิสสะโร กุสะลาธัมมา นะโมพุทธายะ นะโมธัมมายะ นโมสังฆายะ ปัญจะพุทธา นะมามิหัง อาปามะ จุปะ ทีมะสังอังขุ สังวิธาปุกะยะปะ อุปะสะชะสะเห ปาสายะโส ฯ
โสโสสะสะ อะอะอะอะนิ เตชะสุ เนมะภูจะนาวิเว อะสังวิสุโลปุสะพุภะ อิสวาสุ, สุสวาอิ, กุสะลาธัมมา จิตติ วิ อัตถิ.
อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง อะอา ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ สาโพ ธิปัญจะ อิสสะโร ธัมมา.
กุสะลาธัมมา นันทะวิวังโก อิติ สัมมาสัมพุทโธ สุคะลาโน ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ.

๑๐. จาตุมมะหาราชิกา อิสสะโร กุสะลาธัมมา อิติ วิชชาจะระณะสัมปันโน อุ อุ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ.
ตาวะติงสา อิสสะโร กุสะลาธัมมา นันทะปัญจะสุคะโต โลกะวิทู มะหาเอโอ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ.
ยามา อิสสะโร กุสะลาธัมมา พรหมา สัททะ ปัญจะสัตตะ สัตตาปาระมี อะนุต ตะโร ยะมะกะขะ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ.
ตุสิตา อิสสะโร กุสะลาธัมมา ปุยะ ปะกะ ปุริสะทัมมะสาระถิ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ.
นิมมานะระตี อิสสะโร กุสะลา ธัมมา เหตุโปวะ สัตถา เทวะมะนุสสานัง ตะถา ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ.
ปะระนิมมิตะวะสะวัตตี อิสสะโร กุสะลาธัมมา สังขาระขันโธ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปขันโธ พุทธะปะผะ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ.
พรหมา อิสสะโร กุสะลาธัมมา นัต ถิปัจจะยา วินะปัญจะ ภะคะะตา ยาวะนิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ ฯ

๑๑. นะโมพุทธัสสะ นะโมธัมมัสสะ นะโมสังฆัสสะ พุทธิลาโภกะลา กะระ กะนา เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหนตุ หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ
นะโมพุทธัสสะ นะโมธัมมัสสะ นะโมสังฆัสสะ วิตติ วิตติ วิตติ มิตติ มิตติ มิตติ จิตติ จิตติ วัตติ วัตติ มะยะสุ สุวัตถิ โหนตุ หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ.
อินทะสาวัง มะหาอินทะสาวัง พรหมสาวัง มะหาพรหมสาวัง จักกะวัตติสาวัง มะหาจักกะวัตติสาวัง เทวาสาวัง มะหาเทวาสาวัง อิสีสาวัง มะหาอิสีสาวัง มุนีสาวัง มะหามุนีสาวัง สัปปุริสะสาวัง มะหาสัปปุริสะสาวัง พุทธสาวัง ปัจเจกะพุทธะสาวัง อะระหัตตะสาวัง สัพพะสิทธิวิชาธาระณังสาวัง สัพพะโล กาอิริยายังสาวัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหนตุ.
สาวัง คุณัง วะชะ พะลัง เตชัง วิริยัง สิทธิ กัมมัง ธัมมัง สัจจัง นิพพานัง โมกขัง คุยหะกัง ทานัง สีลัง ปัญญา นิกขัง ปัญญัง ภาคะยัง ยะสัง ตัปปัง สุขัง สิริ รูปัง จะตุวีสะติเทสะนัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหนตุ หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ ฯ

๑๒. นะโมพุทธัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ นะโม อิติปิ โส ภะคะวา.
นะโมธัมมัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ นะโม สวากขาโต ภะคะวะตาธัมโม.
นะโมสังฆัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ นะโม สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะ กะสังโฆ วาหะปะริตตัง.
นะโมพุทธายะ มะอะอุ ทุกขัง อะ นิจจัง อะนัตตา ยาวะตัสสะ หาโย โมนะ อุอะมะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา อุอะ มะอะ วันทา นะโมพุทธายะ นะอะกะติ นิสะระณะ อาระปะขุทธัง มะอะอุ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา ฯ
วิปัสสิต

สัพพะทุกขา สัพพะภะยา สัพพะโรคา วินาศสันตุ

ผลการเรียนรู้ (Outcome):ประสบการณ์ที่เกิดขึ้นกับการเริ่มต้นสวดมนต์ ช่วงแรกๆนั้นก็ขี้เกียจสวดมากแต่หลังจากสวดไปเรื่อยๆ ประมาณ2อาทิตย์ อาการนั้นก็หายไปจิตใจสงบขึ้น สิ่งต่างๆในชีวิตดีขึ้น การสวดมนต์บางคนอาจมองว่าเป็นเรื่องน่าเบื่อแต่ในความเป็นจริงแล้วมันเป็นการสร้างคุณความดีให้เกิดแก่ตัวเรา ใครสวดคนนั้นได้ สวดแล้วก็จะได้อานิสงฆ์ดังที่กล่าวไปแล้วข้างต้น เป็นการสร้างบุญ บารมี เพื่อเวลาตายแล้วจะได้มีบุญติดตัวไปบ้างไม่ต้องตกนรกและเพื่อมรรคผลพระนิพพานตามหลักศาสนาพุทธของเรา มันเป็นการสร้างกรรมทำดีชาวพุทธอย่างตัวผู้เขียนเองจึงยึดมั่นในทางคุณความดีที่ควรแก่การกระทำอันจะเป็นกรรมดีที่เกิดตัวเราเอง

ข้อคิดที่ได้จากประสบการณ์ (Reflection): การทำสิ่งใดด้วยความตั้งใจและตั้งมั่นในคุณความดี และวิริยะ อุตสาหะ ย่อมเกิดผลดีต่อชีวิตผู้ได้กระทำ การทำตนให้อยู่ในหลักคำสอนของพระพุทธศาสนาที่เป็นศาสนาที่มีหลักเหตุและผล จักทำให้เรามีความสุขทั้งในปัจจุบันขณะ และอนาคต

เอกสารอ้างอิง (References) : ทำวัตรสวดมนต์แปล ฉบับสวนโมกข์- - พิมพ์ครั้งที่ ๑ กรุงเทพ : สุขภาพใจ. 2554. 136 หน้า.

กฏแห่งกรรมและวิปัสสนาแก้กรรม - - พิมพ์ครั้งที่ ๑ กรุงเทพ : เลี่ยงเชียง. 2555.  157 หน้า.

คำสำคัญ (Tags): #กรรมดี
หมายเลขบันทึก: 493837เขียนเมื่อ 7 กรกฎาคม 2012 10:28 น. ()แก้ไขเมื่อ 21 สิงหาคม 2012 07:58 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (19)

ชอบตรงที่มาแนะนำขั้นตอนการสวดมนต์ ว่าต้องสวดอะไรยังไง บทไหนก่อน...อยากรู้ข้อมูลตรงนี้พอดี แต่ว่าเรายังไม่มีใจแน่วแน่พอที่จะเริ่มสวดมนต์เลย - -" อาจจะลองดูบ้างที่ใครๆบอกว่าการสวดมนต์ทำใหอะไรหลายๆอย่างดีขึ้นๆ

สวดเยอะจังอ่อ เราถึงแผ่เมตตาก็พออ่า

เป็นประโยชน์มาก จะพยายามสวดให้ได้แบบนี้ทุกวันจ้า :))

อนุโมทนาครับ ^^ ดีมากๆเลย

เป็นบทความที่ดีมีประโยชน์มากมาย

เคยสงสัยนะว่าทำไมแม่บอกให้สวดมนต์ก่อนนอน?? ตอนนี้เข้าใจแล้ว (==)

ทำให้จิตใจเราผ่องใส่ขึ้นจริงๆ

สวดมนต์ช่วยให้ใจสงบขึ้นดีคับ : D

โอ้ว ท่านมหา เป็นบทสวดที่ลึกซึ้งมากเลยครับ สาธุ

เป็นชาวพุทธก็ต้องปฎิบัติพิธีกรรมทางศาสนาด้วย การสวดมนต์จึงเป็นการฝึกสมาธิและความอดทนเป็นประโยชน์โดยแท้ และรักษาพระพุทธศาสนาให้สืบไป ขอบคุณมากๆๆที่แนะนำการสวดมนต์

โห...ดีมาก เอาไปสวดได้จริง ดีจัง ได้บุญด้วย ต้องสวดบ้างแล้วล่ะ

คุณพระ ดีจัง

สมกับเป็นถึง "มหา" นะครับ ดีจริงๆ ยาวจริงๆ

นอกจากได้บุญ ยังได้ฝึกสมาธิอีกค่ะ

"ตัวผู้เขียนเองจึงยึดมั่นในทางคุณความดีที่ควรแก่การกระทำอันจะเป็นกรรมดีที่เกิดตัวเราเอง" สาธุ

การสวดมนต์นอกจากจะทำให้สงบแล้ว หากเราได้เข้าใจอรรถธรรมที่แสดงแล้ว คงจะดีไม่น้อยเนอะ ^^

จะนำไปปฏิบัติเผื่อจิตใจจะสงบขึ้นนะคะ :)

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท